เกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม PGS คืออะไร


<strong>เกษตรอินทรีย์</strong>แบบมีส่วนร่วม <strong>PGS</strong> คืออะไร #1

ความหมายการรับรองแบบมีส่วนร่วม

Participatory Organic Guarantee System (PGS) คือ การรับประกันคุณภาพผลผลิตอินทรีย์โดยชุมชน ที่เหมาะสมกับสภาพภูมิสังคมวิถีชีวิตวัฒนธรรม และ การเกษตของท้องถิ่นโดยมีเป้าหมายการผลิตเพื่อจําหน่ายในชุมชน หรือ จําหน่ายตรงเน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ผู้ผลิต ผู้ประกอบ การนักพัฒนานักวิชาการ และ ผู้บริโภค ซึ่งอยู่นอกระบบการรับรองโดย บุคคลที่ 3 หรือหน่วมตรวจรับรอง PGS เป็นกระบวนการที่ไม่มีสูตรสําเร็จ ขึ้นอยู่กับแต่ละกรณีเป็นการพัฒนากระบวน การรับประกันความเป็นอินทรีย์ในระดับชุมชนโดยอาศัย กระบวนการทางสังคมการมีส่วนร่วมพบปะแลกเปลี่ยนความ ชื่อสัตย์ไว้วางใจโปร่งใสความเชื่อมั่นและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ได้ตลอดเวลา

เรียบเรียงจาก : IFOAM,2008

ความสาคัญของการมีระบบรับรองแบบมีส่วนร่วม

เกษตรอินทรีย์ เป็นกลยุทธ์ในการเคลื่อนเกษตรกรรายย่อย เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนและแก้ปัญหาต่างๆ ได้ แก่

  • ด้านสิ่งแวดล้อม
  • ด้านเศรษฐกิจชุมงาน
  • ความมั่นคงทางอาหาร
  • ลดความยากจน
  • สร้างภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ

ตามที่องค์กรที่เกี่ยวกับการพัฒนาการเกษตรและอาหารแห่งสหประชาชาติ (FAO และ IFAD) ได้เรียกร้องให้ประเทศต่างฯมีนโยบายเกษตรอินทรีย์ และ เกษตรอินทรีย์ ไม่ได้จากัดว่าต้องได้รับการรับรองจากหน่วย ตรวจรับรองเท่านั้นแต่เป็นการเกษตรทางเลือกสําหรับเกษตรกรรายย่อย เรียกว่า non certified organic ซึ่งหมายถึง ระบบการเกษตรทุกชนิดที่ใช้กระบวนการธรรมชาติมากกว่าการพึ่งปัจจัยจากวงนอก และ การผลิตอาหารที่ดี ต่อสุขภาพและส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนเน้นการผลิตเพื่อยังชีพ ผลผลิตที่มากเกินพอจึงจําหน่ายให้เพื่อนบ้าน และ ตลาดท้องถิ่นที่ผู้ผลิต และ ผู้บริโภคสื่อสารกันได้โดยตรง ซึ่งการปฏิบัติของผู้ผลิตเป็นไปตามหลักการเกษตรอินทรีย์ แต่ไม่เน้นการขอการรับรองจากบุคคลที่ 3 เนื่องจากการตรวจรับรองโดยหน่วงตรวจรับรองมีค่าใช้จ่ายสูงไม่คุ้มกับ ผลผลิตที่มีไม่มากพอและเป็นกระบวนการยุ่งยากในการทําระบบเอกสาร

กระบวนการรับรองแบบมีส่วนร่วม (Participatory Guarantee System, PGS) เป็นแนวทางในการรับประกันความเป็นอินทรีย์ เพื่อเกษตรกรรายย่อย

ตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์มีความเป็นสากล และ มีมาตรฐานกฎระเบียบควบคุมอยู่การติดฉลากกว่า อินทรีย์ บางประเทศเป็นกฎหมายบังคับว่าจะต้องได้รับการตรวจรับรองจากหน่วยรับรองตามมาตรฐานเกษตรอินทรีง บางประเทศไม่บังคับแต่ผู้ผลิตเกษตรอินทรีย์ในประเทศกําลังพัฒนาส่วนมาก เป็นเกษตรกรรายย่อย ต่อมา IFOAM ได้คิดกระบวนการรับรองแบบกลุ่ม (Grower Group Certification) ขึ้นเพื่อลดค่าใช้จ่ายการตรวจรับรองแต่ก็ยังเป็น กระบวนการที่ซับซ้อนสําหรับผู้ผลิตที่เป็นเกษตรกรรายย่อย หรือ ผู้ที่ปรับเปลี่ยนมาทําเกษตรอินทรีย์ใหม่

กระบวนการรับรองแบบมีส่วนร่วม (Participatory Guarantee System, PGS) เป็นแนวทางหนึ่งในการรับประกันความเป็นอินทรีย์ เป็นกระบวนการทางสังคมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อปรับปรุงสภาพภูมิสังคมของท้องถิ่น และ สร้างแรงจูงใจให้กับ เกษตรกรรายย่อย เป็นผู้ผลิตและผู้ประกอบการในการพัฒนาตลาดท้องถิ่นซึ่งทําให้ลูกค้าสามารถแยกผลิตภัณฑ์อินทรีย์จากสินค้าปกติได้ กระบวนการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม เป็นกระบวนการเบื้องต้นที่จะส่งเสริม ให้เกษตรกรปรับเข้าสู่การผลิตมากขึ้น นําไปสู่การสร้างตลาดทางเลือกเศรษฐกิจอาหารท้องถิ่น และ ให้พลังงานใน การผลิตและการขนส่งอาหารสั้นลง และ สร้างสังคมชุมชนให้อยู่ร่วมกับธรรมชาติอย่างเกื้อกูลส่งผลให้เกิดการพัฒนา อย่างยั่งยืน

ที่มา:http://www.pgs-organic.org/


POW DERLA พาวเดอร์ล่า

พาวเดอร์ล่า POWDERLA  พาวรูปแบบใหม่ พาวผงชงดื่ม ได้ประโยชน์ อร่อย ชงง่าย โดยมีพลูคาวเป็นส่วนผสมหลัก นอกจากนี้ยังประกอบไปด้วย ขิง  กระชายขาว  ตรีผลา (สมอไทย มะขามป้อม สมอพิเภก) ใบหม่อน  ชะเอมเทศ  เก๊กฮวย  เจียวกู้หลาน  แป๊ะก๊วย  ใบบัวบก  งาดำ  สารสกัด...

ดูรายละเอียด

อาหารเสริมผู้สูงอายุ

บทความน่ารู้

มะเร็งสมอง คือ

กรมการแพทย์ แนะวิธีสังเกตสัญญาณเตือน มะเร็งสมอง โรคจากเนื้องอกชนิดเนื้อร้าย ที่มีการเจริญเติบโตของเซลล์ที่ผิดปกติ อาจเกิดเริ่มต้นจากเนื้อสมอง หรือเกิดขึ้นที่อวัยวะอื่นแล้วกระจายเข้าสู่สมอง แนะหากมีอาการผิดปกติทางระบบประสาท ควรพบแพทย์เพื่อรักษาทันที ...

อ่านต่อ

คุมอาหาร แต่ไม่ออกกำลังกาย

มันเป็นอย่างไร จะได้ผลมากน้อยเพียงใด หากเราเป็นคนไม่ชอบออกกำลังกาย ข้อดีของการออกกำลังกาย ส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อม ต่อผู้ออกกำลังกาย ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ระบบภูมิคุ้มกัน ความแข็งรองของข้อต่อ กล้ามเนื้อ ระบบประสาทต่างๆ เรียกได้ว่า ออกกำลังกายคร...

อ่านต่อ

ถาม ตอบ ป้องกัน ตัวเอง ก่อนป่วย

กระแสที่เกิดขึ้นตอนนี้ หลายคนตื่นตระหนกและหวาดกลัว ไปจนถึงหวั่นใจ กับคำถามมากมายว่า เชื้อโรคและไวรัสน่ากลัวแค่ไหน ภูมิต้านทานหรือภูมิคุ้มกันสำคัญแค่ไหน และจะเสริมสร้างภูมิคุ้มกันได้อย่างไร มาไขข้อข้องใจเรื่องไวรัสกับภูมิต้านทานในร่างกายของเรากับ นพ....

อ่านต่อ

ผักเชียงดา ผู้ฆ่าน้ำตาล

ผักเชียงดามีคุณประโยชน์มากมาย แต่สรรพคุณที่เด่นชัดก็คือ การถูกเรียกว่าเป็นผู้ฆ่าน้ำตาล ทั้งนี้รากศัพท์จากชื่อวิทยาศาสตร์ของผักเชียงดา คือ จิมนีมา (GYMNEMA) มาจากคำที่มีรากศัพท์ของภาษาฮินดูในประเทศอินเดียว่า เกอร์มาร์ (GURMAR) ซึ่งแปลตรงตัวว่าผู้ฆ่าน...

อ่านต่อ

จะลุกก็โอย จะนั่งก็โอย

คุณรู้หรือไม่ว่า อาการเหล่านี้คือสัญญาณเตือนว่าข้อเข่าต้องการความช่วยเหลือ?ต้องบอกว่า ‘เข่า’ เป็นอวัยวะสำคัญในการรับน้ำหนักตัวและเคลื่อนไหวของร่างกาย เมื่อใดที่เข่าเริ่มมีความเจ็บปวดเข้ามาเตือนนั่นอาจเป็นสัญญาณของ “โรคข้อเข่าเสื่อม” ซึ่งเกิดจากกระดูก...

อ่านต่อ