ไขมันตัวร้าย นำพามาสารพันโรค

ไขมันในเลือดสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคมากมาย โดยเฉพาะโรคเกี่ยวกับหลอดเลือดเช่น โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ  โรคหลอดเลือดสมอง นำพาไปสู่อาการอัมพฤกษ์ อัมพาตได้

ชนิดของไขมันในเลือด

ไขมันในเลือดแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ คอเลสเตอรอล และ ไตรกลีเซอร์ไรด์   ซึ่งคอเลสเตอรอล แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ไขมันดี HDL และไขมันเลว LDL

    1. คอเลสเตอรอล (Cholesterol)  เป็นไขมันที่ร่างกายสังเคราะห์ได้เองจากตับและลำไส้ และได้รับจากอาหารที่ทานเข้าไป พบมากในไขมันสัตว์ อาหารทะเล อาหารหวาน ขนมกรุบกรอบ และครีมเทียม  คอเลสเตอรอลเป็นส่วนประกอบสำคัญของเซลล์ในร่างกายโดยเฉพาะเซลล์สมอง แต่ถ้าหากได้รับมากเกินไปก็จะเป็นโทษ ไขมันเหล่านี้จะสมสมในผนังหลอดเลือดทั่วร่างกาย เป็นตัวการสำคัญที่ทำให้เส้นเลือดแข็งตัว และหลอดเลือดอุดตัน ระดับคอเลสเตอรอลในเลือดปกติไม่ควรเกิน 200 มก./ดล.

  • ไขมันชนิดดี HDL (High Density Lipoprotein) ทำหน้าที่จับไขมันคอเลสเตอรอลไปทำลายที่ตับ  การมีไขมัน HDL สูงทำให้โอกาสเกิดโรคหลอดเลือดลดลง การทำให้ HDL สูงนั้นต้องออกกำลังกายเท่านั้น ระดับไขมัน HDL ในเลือดปกติสำหรับผู้ชายมากกว่า 40 มก./ดล. สำหรับผู้หญิงมากกว่า 50 มก./ดล.
  • ไขมันชนิดไม่ดี LDL (Low Density Lopoprotein) ได้มาจากอาหารประเภทไขมันสัตว์ หากมีในเลือดสูงจะไปเกาะผนังหลอดเลือด ทำให้หลอดเลือดไม่มีความยืดหยุ่น หลอดเลือดตีบแคบลง เลือดไหลเวียนไม่สะดวก เสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดตีบตัน  ระดับไขมันLDLในเลือดปกติไม่ควรเกิน 130 มก./ดล.

    2. ไตกลีเซอร์ไรด์ (Triglyceride) เป็นไขมันที่ร่างกายสร้างขึ้นได้สารอาหารประเภทน้ำตาล แป้ง และอาหารที่ทานเข้าไป มีความสำคัญด้านโภชนาได้แก่ ให้พลังงาน ช่วยการดูดซึมวิตามิน A,D,E และK ช่่วยทำให้รู้สึกอิ่มท้องได้นาน และร่างกายยังเก็บสะสมไว้สำหรับให้พลังงานเมื่อมีความต้องการ   การที่มีไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง อาจจะมาจากโรคบางอย่าง เช่น โรคอ้วน โรคเบาหวาน  จากการดื่มสุรา และยาบางชนิด เช่นยาฮอร์โมน ยาสเตียรอยด์  การที่ไตรกลีเซอไรด์สูงมีโอกาสเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบได้มาก   ระดับไตรกลีเซอร์ไรด์ปกติในเลือดไม่ควรเกิน 150 มก./ดล

ที่มาข้อมูล บทความสุขภาพ โรงพยาบาลศิริราช ,บทความ ศูนย์แลบธนบุรี , บทความสุขภาพ โรงพยาบาลเปาโล

POW Zukar Q พาวซูการ์คิว

กลุ่มโรค NCDs เป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหาร การดื่มแอลกฮอล์ การสูบบุหรี่ การไม่ออกกำลังกาย การนอนดึก มีภาวะความเครียดสูง  ตัวอย่างของโรค NCDs ได้แก่ โรคไขมันในเลือดสูง โรคความดันสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ  โรคห...

ดูรายละเอียด

อาหารเสริมผู้สูงอายุ

บทความน่ารู้

การทำร้ายดวงตาอย่างเงียบๆ

รู้ไหมว่า? นี่คือการทำร้ายดวงตาอย่างเงียบๆเผชิญหน้ากับแสงแดดจัด ความจริงแล้วรังสียูวีทำลายเซลล์ที่บริเวณดวงตาของเราได้มากพอๆกับการที่มันทำลายเซลล์ผิวหนังของเรา รังสียูวีนี้สามารถสร้างความเสียหายให้กับเซลล์ที่จอประสาทตาได้ทีละเล็กทีละน้อยโดยที่เราไม่ร...

อ่านต่อ

อยากลดหุ่นต้องทำยังไง

อยากลดหุ่นต้องทำยังไง? ควรทานโปรตีนแบบไหนดี? อะไรดีกว่ากัน? แพ้นมวัวต้องทานอะไร? เป็นคำถามที่หลายคนถามมาตลอด ที่ออกกำลังกายมาเพราะหลายคนอยากทานโปรตีนเพื่อเปลี่ยนรูปร่างตัวเอง อยากมีรูปร่างที่ดี แต่ไม่รู้จะหาสิ่งที่ตอบโจทย์ความต้องการได้อย่างไรรูปร่า...

อ่านต่อ

ตับ อวัยวะสำคัญ

ตับเป็นอวัยวะที่สำคัญอันดับต้นๆ ของร่างกายคนเรา ตับเป็นอวัยวะที่มีสีแดง อยู่ตรงชายโครงขวาใต้กระดูกซี่โครง ในหนึ่งวันเลือดทั้งหมดในร่างกายประมาน 5 ลิตรนั้นจะใช้เวลาไหลเวียนผ่านตับเพียง 4-5 นาทีเท่านั้น เราจะสังเกตได้ในหนึ่งๆ วันตับทำงานหนักมาก และหน้...

อ่านต่อ

วัย 40 กินคอลลาเจนอย่างไรให้ได้ผล

คอลลาเจนพบมากที่บริเวณผิว และ ไขข้อ มีการสร้าง และสลายตลอดเวลา เมื่ออายุมากขึ้นร่างกายจะสร้างคอลลาเจนน้อยลง จะเห็นชัดหลัง อายุ40ปี โดยเฉพาะที่ผิว เพราะคอลลาเจนเป็นส่วนประกอบหลักของโปรตีนกว่า 80% ของผิว คอลลาเจนนี้จะอยู่ที่ผิวหนังชั้นล่างซึ่งครีมทั่วไ...

อ่านต่อ

การออกกำลังกาย กับ การชะลอวัย

การย้อนวัยสู่ความหนุ่มสาวที่ทุกคนสามารถทำได้ทันที แต่ต้องอาศัยวินัย นั่นก็คือการออกกำลังกายเป็นประจำและสม่ำเสมอ จากผลวิจัยที่ Harvard Medical School ในเดือนมีนาคม 2014 ได้กล่าวถึงผลกระทบของการแก่ชราต่อร่างกายเราที่น่าสนใจความสามารถของหัวใจในการปั๊มเล...

อ่านต่อ