ดื่มชาดี ต่อสุขภาพ

นักวิจัยชาวเนเธอร์แลนด์พบว่า ผู้ที่ได้รับสารฟลาโวนอยด์อย่างสม่ำเสมอ จะมีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจหลอดเลือดลดลงถึง 68% ซึ่งสารที่ว่านี้พบมากในชาดำ หัวหอม และแอปเปิ้ล

ผู้ที่ดื่มชาดำวันละถ้วย จะช่วยลดความเสี่ยงจากหัวใจวายได้ถึง 44%

รายงานการวิจัยจากองค์การอาหารและเกษตรของสหรัฐฯระบุว่า การดื่มชาดำวันละ 5 ถ้วย ช่วยลดแอลดีแอล หรือคอเลสเทอรอลที่ชอบไปเกาะตามผนังหลอดเลือดลงถึง 11.1% ขณะที่การวิจัยในบอสตันระบุว่า ผู้ที่ดื่มชาดำวันละถ้วย จะช่วยลดความเสี่ยงจากหัวใจวายได้ถึง 44% เมื่อเทียบกับคนที่ไม่ดื่มชา

ปัจจุบันกระแส ดื่มชา กลายเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายพอๆกับกาแฟ ชาหลากหลายชนิดถูกออกแบบให้ตรงกับรสนิยมของผู้นิยมดื่มหรือจิบชา ถ้าชาดำขมไปก็มีชาเขียว ชาขาว ชาดอกไม้ ชาผลไม้ ชาสมุนไพร ที่ต่างก็มีรสและกลิ่นอันกลมกล่อมละมุนละไมแตกต่างกันตามชนิดของชา

เจียวกู้หลาน เป็นชาอีกชนิดหนึ่งที่กำลังได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะการนำมาใช้เพื่อป้องกันยับยั้งและบำบัดโรคหลายชนิด เจียวกู้หลานมีชื่อเรียกหลายชื่อในหลายประเทศ คนไทยเรียกว่า เบญจขันธ์ ญี่ปุ่นเรียกว่า อะมาซาซูรู ที่แปลว่า ชาหวานจากเถา ส่วนคนจีนเรียกว่า เซียนเถา หรือ โสมใต้

ข้อมูลจากไทยรัฐออนไลน์

ชาขาว ชาขาวเข็มเงิน แม่สรวย เชียงราย

Bai Hao Yinzhen ไป๋หาวหยินเจิน ชาขาวเข็มเงิน หรือในภาษาอังกฤษเรียกว่า Silver Needle ด้วยลักษณะเหมือนเข็ม มีขนสีขาวประกายเงินปกคลุม จึงเรียกว่าเข็มเงินชาขาวเข็มเงิน ตราบ้านชาไทย ปลูกบนยอดเขาสูงไม่น้อยกว่า 1,300 เมตรจากระดับน้ำทะเล จากไร่ชา อำเภอแม่สรว...

ดูรายละเอียด

อาหารเสริมผู้สูงอายุ

บทความน่ารู้

กระเทียม กับ โรคหลอดเลือดหัวใจ

ข้อมูลทางการแพทย์ปัจจุบันที่อ้างอิงข้อพิสูจน์ทั้งเก่าและใหม่ระบุว่า กระเทียมมีปฏิกิริยาต่อต้านการแข็งตัวของเลือด ทั้งนี้ ดร.ซาเล็ม อะหฺมัด และ ดร.เอริค บลูค จากมหาวิทยาลัยนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกาผู้ค้นพบสารอะโจอิน (Ajoene) ในกระเทียมซึ่งเป็นสารต่อต้านก...

อ่านต่อ

พาวซูการ์คิว และ พาวแคปซูล

พาวแบบเม็ด มี 2 ชนิด  คือ พาวแคปซูล และ พาวซูการ์คิว ซึ่งทั้ง 2 ชนิด มีความต่างกันคือพาวซูการ์คิว Zukar Q สำหรับผู้ที่มีปัญหาสุขภาพน้ำตาล ไขมันคอเลสตอลรอล ไขมันเลว และความดัน มีงานวิจัยบลูสเปียร่าจากม.พะเยา พาวแคปซูล มีส่วนผสมของพลูคาว และสมุน...

อ่านต่อ

มะเร็งสมอง คือ

กรมการแพทย์ แนะวิธีสังเกตสัญญาณเตือน มะเร็งสมอง โรคจากเนื้องอกชนิดเนื้อร้าย ที่มีการเจริญเติบโตของเซลล์ที่ผิดปกติ อาจเกิดเริ่มต้นจากเนื้อสมอง หรือเกิดขึ้นที่อวัยวะอื่นแล้วกระจายเข้าสู่สมอง แนะหากมีอาการผิดปกติทางระบบประสาท ควรพบแพทย์เพื่อรักษาทันที ...

อ่านต่อ

ความเครียด ลำไส้ สัมพันธ์กัน

เคยสงสัยกันไหมว่า ทำไมเวลาเครียดมากๆ เราถึงรู้สึกปวดท้อง กระอักกระอ่วน อาการเหล่านี้เกี่ยวข้องกับลำไส้อย่างไร และ มีวิธีแก้อย่างไรได้บ้าง ลำไส้นั้นก็เหมือนสมองอันที่สองของร่ายกาย เพราะลำไส้มีสาร Serotonin (เซโรโทนิน) คือสารที่ส่งผลต่ออารมณ์ความรู้สึก...

อ่านต่อ

ผักเชียงดา ผู้ฆ่าน้ำตาล

ผักเชียงดามีคุณประโยชน์มากมาย แต่สรรพคุณที่เด่นชัดก็คือ การถูกเรียกว่าเป็นผู้ฆ่าน้ำตาล ทั้งนี้รากศัพท์จากชื่อวิทยาศาสตร์ของผักเชียงดา คือ จิมนีมา (GYMNEMA) มาจากคำที่มีรากศัพท์ของภาษาฮินดูในประเทศอินเดียว่า เกอร์มาร์ (GURMAR) ซึ่งแปลตรงตัวว่าผู้ฆ่าน...

อ่านต่อ