แต่ละวัย รับน้ำตาล ได้เท่าไหร่

แต่ละวัย รับน้ำตาล ได้เท่าไหร่ #1

แต่ละเพศ และวัย มีความสามารถในการรับน้ำตาลไม่เท่ากัน เคยสังเกตุตัวเองมั้ยว่าทานไปเท่าไหร่? ลดการบริโภคน้ำตาล เพื่อหลีกเลี่ยงโรคอ้วน ตัดวงจรการเกิดโรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคความดันโลหิตสูง เป็นต้น โดยปริมาณน้ำตาลที่เหมาะสมต่อวันของแต่ละช่วงอายุ (กองโภชนาการ, กรมอนามัย) มีดังนี้

  • ในเด็กและผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ควรบริโภคน้ำตาลไม่เกิน 16 กรัม ต่อวัน หรือเทียบได้กับน้ำตาล 4 ช้อนชา
  • วัยรุ่นหญิงชาย อายุ 14 – 25 ปี ควรบริโภคน้ำตาลไม่เกิน 24 กรัม ต่อวัน หรือเทียบได้กับน้ำตาล 6 ช้อนชา
  • หญิงชายที่ใช้พลังงานมาก ควรบริโภคน้ำตาลไม่เกิน 32 กรัม ต่อวัน หรือเทียบได้กับน้ำตาล 8 ช้อนชา
เทคนิคควบคุมการบริโภคน้ำตาลคือ การเปลี่ยนมาใช้น้ำตาลซองเพื่อชงชา กาแฟ เป็นขนาดบรรจุไม่เกิน 4 กรัมต่อซอง

ข้อมูล : สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

Lu7 แอลยูเซเว่น

หากคุณมีน้ำตาลในเลือดสูง ต่อเนื่องเป็นเวลานานๆ ให้ลองสังเกตว่าเริ่มมีอาการแทรกซ้อนเหล่านี้แล้วหรือไม่แอลยูเซเว่น คืออะไร??แอลยูเซเว่น  คือ ส่วนผสมของสมุนไพรที่มีงานวิจัย และเป็นสมุนไพรธรรมชาติ ปลูกด้วยระบบเกษตรอินทรีย์ ใส่ใจขั้นตอนการปลูก และ การเก็บ...

ดูรายละเอียด

อาหารเสริมผู้สูงอายุ

บทความน่ารู้

วิธีปลูกกระชายขาวแบบง่ายๆ

วิธีปลูกกระชายขาวแบบง่ายๆ สมุนไพรพื้นบ้านที่มีฤทธิ์ต้าน COVID-19 หลังจากการศึกษาและงานวิจัยจากหลายแหล่ง รวมไปถึงโครงการวิจัยต้านเชื้อไวรัสโคโรนาจากสมุนไพรไทย โดย คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี และศูนย์ความเป็นเลิศด้าน...

อ่านต่อ

กินเจ อิ่มบุญ สุขภาพดี ไม่อ้วน

ช่วงเทศกาลกินเจของทุกปี ตรงกับวันขึ้น 1 ค่ำ ถึง 9 ค่ำ เดือน 9 ตามปฏิทินจีน ตรงกับเดือน 11 หรือเดือนตุลาคมของไทย ตามปฏิทินสากล รวมเป็นเวลาทั้งสิ้น 9 วัน 9 คืน  การกินเจ คือการงดรับประทานเนื้อสัตว์ทุกชนิด และหันมารับประทานพืชผัก ช่วงเวลานี้จึงเป็นช่วง...

อ่านต่อ

เบาหวาน ขึ้นตา

เบาหวานขึ้นตา เป็นภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน ที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเป็นเวลานาน ทำให้เส้นเลือดที่จอตาได้รับความเสียหายจากน้ำตาลอุดตัน เลือดไม่ไหลเวียนได้ตามปกติ ในช่วงแรกอาจไม่พบอาการหรืออาจมองเห็นผิดปกติเพียงเล็กน้อย แต่หากมีอาการรุนแรง แล้วปล่อยไ...

อ่านต่อ

กรดไหลย้อน

กรดไหลย้อนเรื้อรัง มีอาการจุกคอ มีความเครียด ความกังวล นอนไม่หลับ เป็นแพนิค เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย สารอาหารในเลือดน้อย เป็นผลพวงมาจากการที่กระเพาะ และ ลำไส้ทำงานไม่ปกติ คนเป็นกรดไหลย้อนมักใช้ยาดลดกรดติดต่อกันเป็นเวลานาน ทำให้น้ำย่อยในกระเพาะไม่มีประส...

อ่านต่อ

นิวนอร์มอล อยู่ให้ได้ อยู่ให้เป็น

ในวันที่เราเริ่มต้นเดินทางออกจากบ้านมาทำงาน และ ทำกิจกรรมนอกบ้านได้ใกล้เคียงกับปกติ แต่พฤติกรรมเหล่านี้เป็นวิถีชีวิตใหม่ หรือที่เรียกกันว่า นิวนอร์มอล (New Normal) เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ไม่เหมือนเดิม แม้ว่าเราจะกลับไปยังสถานที่เดิม ๆ เพราะทุกคนต้อง...

อ่านต่อ