ไขปมผู้ป่วย เบาหวาน ติดเชื้อโควิด ทำไมเสี่ยงตายสูง

ไขปมผู้ป่วย <strong>เบาหวาน</strong> ติดเชื้อ<strong>โควิด</strong> ทำไมเสี่ยงตายสูง #1

ไขปมผู้ป่วย "เบาหวาน" ติดเชื้อโควิด ทำไมเสี่ยงตายสูง?ซึ่งหากติดเชื้อโควิด19ส่งผลกระทบต่อการควบคุมเบาหวานได้แย่ลง เนื่องจากเอนไซม์ต่างๆที่เปลี่ยนแปลงไป เมื่อเบาหวานคุมไม่ได้ น้ำตาลก็สูงขึ้น น้ำตาลที่สูงขึ้นเรื่อยๆทำให้เม็ดเลือดขาวทำงานแย่ลง ทำให้ ไวรัสโควิด19 เข้าไปทำลาย Tcells (ทีเซลล์)ของเม็ดเลือดขาวได้ง่ายขึ้น ซึ่ง Tcells ทำหน้าที่แจ้งเตือน และ ชี้นำให้เซลตัวอื่นๆของเม็ดเลือดขาวรับทราบว่ามีเชื้อแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกาย และ ไปทำลายเชื้อโรค แต่หาก T cells ถูกทำลายร่างกายก็จะมีปัญหาเกี่ยวกับสร้างภูมิคุ้มกันขึ้น ต่อสู้กับเชื้อโรค จนส่งผลกระทบต่อการสร้างภูมิคุ้มกันโดยรวม

งานวิจัยชิ้นนี้ อาจตอบปัญหาได้ว่า ทำไมเชื้อไวรัสโควิดจึงแพร่กระจายได้รวดเร็ว และ ผู้ที่ป่วยและหายดีแล้วจึงกลับไปติดเชื้อซ้ำ ซึ่งเป็นเพราะ T cells ถูกทำลายไปนั่นเอง ส่วนการป้องกันก็ทำได้ยากกว่าการป้องกันเชื้อ HIV เนื่องจากไวรัสโควิด 19 เป็นโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ

อย่างไรก็ตาม ผู้เชี่ยวชาญแนะนำให้ทุกคนเสริมสร้าง หรือ NK Cell  (Natural Killer Cell) ซึ่งเป็นเม็ดเลือดขาวชนิดหนึ่งในร่างกาย ตรวจพบประมาณ 15% ของจำนวนเม็ดเลือดขาว มีหน้าที่หลักๆมีไว้จัดการกับเซลล์ที่ติดเชื้อไวรัส แบคทีเรีย และ เซลล์มะเร็ง เสมือนด่านแรกในการปกป้องร่างกายจากเชื้อโรค ซึ่งมีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อไวรัสได้ดีกว่าเซลล์เม็ดเลือดขาวทั่วไป 

ดังนั้นจึงควรเสริมภูมิต้านทานให้แก่ NK Cell  คือ

  • การรับประทานอาหารครบหมู่ 
  • ออกกำลังกายสม่ำเสมอพักผ่อนให้เพียงพอ
  • รับประทานอาหารที่มีผลต่อ NK Cell ได้แก่ อาหารที่มีเบต้าแคโรตีน วิตามินซี วิตามินอี อาหารจำพวกเห็ด รวมทั้งรับประทานอาหารเสริมที่มีผลต่อการเพิ่มภูมิคุ้มกัน ได้แก่ พูลคาว, บลูเบอร์รี, เห็ดไมตาเกะ, เห็ดหลินจือ, กระเทียม ,ถั่งเช่า, สารสกัดจากรำข้าว และ ธัญพืชหลายชนิด
  • ปล่อยวางความเครียดและคอยหมั่นสังเกตร่างกายตัวเอง
  • เพิ่มภูมิคุ้มกัน ด้วยวิธีภูมิคุ้มกันบำบัด

Credit : TNN

หมวดเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง

เบาหวาน

โรคเบาหวาน คือ ความผิดปกติของตับอ่อนที่ผลิตอินซูลินไม่เพียงพอ ก่อให้เกิดระดับน้ำตาลในเลือดสูง เป็นโรคเรื้อรังที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพหลายระบบ ฟัน เหงือก ตา ไต หัวใจ สมอง และ หลอดเลือด รวมทั้งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต  อาการของเบื้องต้นที่สามารถสังเ...

อ่านต่อ

ต่อต้านอนุมูลอิสระ

สารต้านอนุมูลอิสระ (antioxidant) คือ สารประกอบที่สามารถป้องกันหรือชะลอกระบวนการเกิดออกซิเดชั่น(กระบวนการรวมตัวกับออกซิเจน) หน้าที่ของสารต้านอนุมูลอิสระ คือ ลดความเสี่ยงต่อโรคโดยเฉพาะโรคเรื้อรังที่สัมพันธ์กับอาหาร เช่น โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โร...

อ่านต่อ

สุขภาพชาย

สุขภาพผู้ชาย แต่เมื่อเริ่มเข้าเลข 3 พบว่าผู้ชายที่อายุเข้า 30 ปีขึ้นไป จะพบว่าตนเองนั้นมีพละกำลัง เรี่ยวแรงน้อยลง ไม่เหมือนก่อนสุขภาพโดยรวมเริ่มย่ำแย่ เพราะฉะนั้นการหมั่นดูแล สุขภาพผู้ชาย จึงเป็นสิ่งสำคัญ เรียกได้ว่า ใครเริ่มดูแลสุขภาพก่อนยิ่งได้เป...

อ่านต่อ

สุขภาพหญิง

ผู้หญิงมีความแตกต่างจากเพศชายอยู่หลายอย่างไม่ว่าจะเป็นโครงสร้างของ ร่างกาย ฮอร์โมนของระบบสืบพันธุ์ ความแตกต่างเหล่านี้ส่งผลให้ผู้หญิงมีปัญหาสุขภาพที่แตกต่างจากเพศชาย และในแต่ละช่วงอายุของผู้หญิงก็จะมีปัญหาสุขภาพที่แตกต่างกันไป โรคที่ผู้หญิงส่วนใหญ่จะ...

อ่านต่อ

ภูมิแพ้ ทางเดินหายใจ

โรคภูมิแพ้ระบบทางเดินหายใจ เกิดจากปฏิกิริยาของร่างการตอบสนองต่อสารก่อภูมิแพ้ต่างๆ เนื่องจากภูมิคุ้มกันร่างกายไม่แข็งแรง  โรคภูมิแพ้ไม่ใช่โรคติดต่อ แต่สามารถส่งต่อทางพันธุกรรมจากรุ่นสู่รุ่น และสามารถเกิดได้ทุกเพศทุกวัย แต่ที่สังเกตุได้ชัดคือ เด็ก...

อ่านต่อ

อาหารเสริมผู้สูงอายุ

ความสำคัญของการบริโภคอาหารที่จำเป็นต่อสุขภาพ และ สารอาหารที่มักมีปัญหาในผู้สูงอายุไทยเนื่องจาก บุคคลในวัยนี้จะมีปัญหาสุขภาพตามความเสื่อมของวัย ดังนั้นการคิดนวัตกรรมอาหารที่สอดคล้องกับสุขภาพของคนวัยนี้จึงมีความสำคัญเพื่อให้เกิดสังคมผู้สูงอายุที่มีสุขภ...

อ่านต่อ