พรีไบโอติก และ โพรไบโอติกส์ ต่างกันอย่างไร

<strong>พรีไบโอติก</strong> และ <strong>โพรไบโอติก</strong>ส์ ต่างกันอย่างไร #1

เคยได้ยินคำว่าพรีไบโอติก (Prebiotics) และโพรไบโอติก (Probiotics) กันบ้างหรือไม่ ทั้งสองอย่างนี้ทำหน้าที่สำคัญต่อระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่าย 

โพรไบโอติก คือ จุลินทรีย์ที่มีชีวิตชนิดดี มีประโยชน์ต่อสุขภาพ เปรียบเสมือนทหารดี

พรีไบโอติก  คือ สารอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ เป็นไฟเบอร์ หรือกากใย เป็นอาหารของโพรไบโอติก เปรียบเสมือนเสบียงของทหารดี

ซึ่งทั้ง พรีไบโอติก และโพรไบโอติก จะทำงานสัมพันธ์กัน แต่จะมีความแตกต่างกันตรงที่ พรีไบโอติกนั้นเป็นสารอาหารที่ได้จากการรับประทานอาหารและอาหารเสริม    ในขณะที่โพรไบโอติกจะเป็นจุลินทรีย์ที่มีชีวิตและมีประโยชน์ต่อร่างกายซึ่งสามารถพบได้จากการรับประทานอาหารและอาหารเสริมเช่นเดียวกัน

นอกจากนี้พรีไบโอติกยังไม่สามารถถูกย่อยที่ลำไส้เล็กได้ จำเป็นต้องอาศัยโพรไบโอติก มาทำการย่อยเพื่อเป็นอาหารให้แบคทีเรียที่ดีในลำไส้ ดังนั้นจะเห็นได้ว่า ร่างกายไม่ควรขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งไม่ว่าจะเป็นพรีไบโอติกหรือโพรไบโอติก เพราะทั้งสองสิ่งนี้ทำงานเกื้อกูลซึ่งกันและกัน และให้ประโยชน์ต่อร่างกายเช่นเดียวกัน

ข้อมูลอ้างอิง : ข้อมูลโภชนาการ โภชนาการเพื่อสุขภาพ hellokhunmor.com 

POW DERLA พาวเดอร์ล่า

พาวเดอร์ล่า POWDERLA  พาวรูปแบบใหม่ พาวผงชงดื่ม ได้ประโยชน์ อร่อย ชงง่าย โดยมีพลูคาวเป็นส่วนผสมหลัก นอกจากนี้ยังประกอบไปด้วย ขิง  กระชายขาว  ตรีผลา (สมอไทย มะขามป้อม สมอพิเภก) ใบหม่อน  ชะเอมเทศ  เก๊กฮวย  เจียวกู้หลาน  แป๊ะก๊วย  ใบบัวบก  งาดำ  สารสกัด...

ดูรายละเอียด

ทางเดินอาหาร

บทความน่ารู้

การกินอาหาร มีผลอย่างไรต่ออายุของเรา

เคยสงสัยกันมั๊ยว่าเรื่องอาหารการกินมีความสัมพันธ์อย่างไรกับอายุขัยของเราในอดีตจนถึงปัจจุบันในบางพื้นที่ มนุษย์ต้องดิ้นรนเพื่อให้ได้มาซึ่งอาหารที่มีสารอาหารที่จำเป็น เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายเราเอง แต่ในยุคสมัยใหม่ ในประเทศหรือเมืองที่เจริญ ผู้ค...

อ่านต่อ

ความเครียด ลำไส้ สัมพันธ์กัน

เคยสงสัยกันไหมว่า ทำไมเวลาเครียดมากๆ เราถึงรู้สึกปวดท้อง กระอักกระอ่วน อาการเหล่านี้เกี่ยวข้องกับลำไส้อย่างไร และ มีวิธีแก้อย่างไรได้บ้าง ลำไส้นั้นก็เหมือนสมองอันที่สองของร่ายกาย เพราะลำไส้มีสาร Serotonin (เซโรโทนิน) คือสารที่ส่งผลต่ออารมณ์ความรู้สึก...

อ่านต่อ

พาว การรับประทาน วิธีการเก็บรักษา

การรับประทานพาวมีลูกค้าหลายๆ ทานที่ซื้อพาวไป ได้สอบถามวิธีการรับประทานพาวมาหลายข้อความ วิธีทานพาว วิธีดื่มพาว มีข้อควรระวังอะไรบ้าง มีคำตอบดังนี้ครับ ควรเริ่มดื่มพาว วันละ 15ml. (ประมาณเกือบครึ่งแก้วตวง) หลังอาหาร มื้อใดก็ได้ ในกรณีมียาประจำที่ต้องท...

อ่านต่อ

ขับถ่ายยาก กลัวการเข้าห้องน้ำ

ในพาวน้ำ หรือ พาวซุยยากุเอสเซนส์ มีจุลินทรีย์ทั้ง พรีไบโอติกส์ และ โพรไบโอติกส์ จุลินทรีย์ชนิดดี จำเป็นต่อลำไส้ ช่วยให้ขับถ่ายเป็นเรื่องที่ง่าย กินดี หลับดี ถ่ายดี แค่นี้ก็ทำให้สุขภาพดีขึ้นได้ ...

อ่านต่อ

อารมณ์ต่างๆ ล้วนเกิดจากลำไส้

อารมณ์ต่างๆ ล้วนเกิดจากลำไส้คำนี้มีตั้งข้อสังเกตุมานับพันปี ซึ่งส่วนใหญ่ของจุลินทรีย์ในลำไส้คือ แบคทีเรียซึ่งมีทั้งร้ายและดีที่ต่ำกว่า 1% ที่จะก่อให้เกิดโรค หลายทศวรรษที่ผ่านมาผู้เชี่ยวชาญไม่เชื่อว่าแบคทีเรียในลำไส้มีผลต่อสุขภาพจิต จนมีหลักฐานมากขึ้น...

อ่านต่อ