การเดินเร็ว ลดความดันได้

การเดินเร็วๆ หรือ Brisk Walk ช่วยลดความดันได้ดีพอๆ กับการวิ่ง การออกกำลังกายเป็นปัจจัยสำคัญของการควบคุมความดัน หลายคนสงสัยว่าการเดินเร็วจะสามารถลดความดันได้เท่ากับการวิ่งจริงหรือ?

การเดินเร็ว 10-12 นาทีต่อกิโลเมตร หรือนับง่ายๆ คือ 100 ก้าวต่อนาที หรือ 4.5 ไมล์ต่อชั่วโมง

การออกกำลังกายเป็นปัจจัยสำคัญของการควบคุมความดันโลหิต

จากข้อมูลของ National Runners' Health Study โดยศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการควบคุมและดูแลสุขภาพ เทียบกันระหว่างการวิ่งและการเดินเร็ว โดยทำการศึกษาจากนักวิ่งทั้งหมด 33,000 คน และ คนที่เดินเร็ว 16,000 คน ตั้งแต่อายุ 18-80 ปี (ส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 40-50 ปี) พบว่า

คนที่เลือกการวิ่ง สามารถลดความเสี่ยงภาวะความดันโลหิตสูงได้ 4.2% ในขณะที่คนเดินเร็ว สามารถลดภาวะความดันโลหิตสูงได้ถึง 7.2%

คนที่เลือกการวิ่ง สามารถลดภาวะไขมันในเส้นเลือดสูงได้ 4.3% ในขณะที่คนเดินเร็ว สามารถลดภาวะไขมันในเลือดสูงได้ 7%

คนที่เลือกการวิ่ง สามารถลดความเสี่ยงภาวะหัวใจและหลอดเลือดได้ถึง 4.5% ส่วนคนที่เดินเร็วสามารถลดความเสี่ยงภาวะหัวใจและหลอดเลือดได้ถึง 9.3 %

คนที่เลือกการวิ่ง สามารถลดความเสี่ยงภาวะเบาหวานได้ 12.1% ส่วนคนที่เดินเร็วสามารถลดความเสี่ยงภาวะเบาหวานได้ 12.3%

จะเห็นได้ว่า การเดินเร็วสามารถสร้างสมรรถนะของร่างกาย ในการดูแลหัวใจ และ เบาหวาน ได้ดีไม่แพ้กัน และ ที่สำคัญ ก่อนออกกำลังกาย ควรวัดความดัน และ ตรวจระดับน้ำตาลก่อนออกกำลังกายอย่างน้อย 30 นาที

การเดินเร็ว สามารถสร้างสมรรถนะของร่างกาย และ ดูแลหัวใจ เบาหวาน ได้ดี เท่ากับการวิ่ง

ที่มา : FB Yuwell.thailand

POW พาวแคปซูล พาวเฮอร์เบิลแคปซูล

พาวแคปซูล สำหรับผู้ที่ไม่สะดวกรับประทานแบบน้ำ ไม่ชอบกลิ่นและรสชาติของสมุนไพร ต้องเดินทางบ่อยพกพาวชนิดน้ำไปทานไม่สะดวก พาวแคปซูล จึงเป็นอีกทางเลือกสำหรับผู้ที่ต้องการดูแลสุขภาพสมุนไพรในพาวเฮอร์เบิลแคปซูล มี 12 ชนิด ประกอบไปด้วย พลูคาว  เบต้ากูลแค...

ดูรายละเอียด

ความดันโลหิต คอเรสเตอรอล

บทความน่ารู้

ข้อดีของกาแฟดำ สำหรับ ผู้ป่วยเบาหวาน

โรคเบาหวานถือเป็นโรคยอดนิยม ที่ผู้คนส่วนใหญ่เป็นกันมาก และช่วงอายุของผู้ที่เป็นเริ่มลดลงมาอยู่ในช่วงวัยหนุ่มสาว อันเนื่องมาจากพฤติกรรมการกินอาหารและการใช้ชีวิตแบบผิดๆ  การทีปล่อยให้น้ำตาลในเลือดสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ยิ่งทำให้โรคเบาหวานจะเข้าทำลายดวง...

อ่านต่อ

อายุมากขึ้น กินอาหารเท่าเดิม อาจไม่เพียงพอ

เมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น แต่กินอาหารในปริมาณเท่าเดิม อาจไม่เพียงพอต่อร่างกายเมื่อคนเราอายุมากขึ้น ระบบต่างๆ ในร่างกายก็จะมีประสิทธิภาพในการทำงานที่ลดลง โดยเฉพาะระบบการย่อยและการดูดซึมสารอาหารอย่างโปรตีน ที่มีความจำเป็นต่อร่างกายอย่างมาก ก็มีประสิทธิภ...

อ่านต่อ

กระเทียม กับ โรคหลอดเลือดหัวใจ

ข้อมูลทางการแพทย์ปัจจุบันที่อ้างอิงข้อพิสูจน์ทั้งเก่าและใหม่ระบุว่า กระเทียมมีปฏิกิริยาต่อต้านการแข็งตัวของเลือด ทั้งนี้ ดร.ซาเล็ม อะหฺมัด และ ดร.เอริค บลูค จากมหาวิทยาลัยนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกาผู้ค้นพบสารอะโจอิน (Ajoene) ในกระเทียมซึ่งเป็นสารต่อต้านก...

อ่านต่อ

น้ำตาลสะสม และ น้ำตาลรายวัน

น้ำตาลลดไม่ได้หมายความว่าเบาหวานดีขึ้นเสมอไป ถ้ายังไม่ได้ตรวจน้ำตาลสะสม (HbA1C) ซึ่งไม่ควรเกิน 5.6ค่าน้ำตาลในเลือดรายวันอยู่ระหว่าง 70 – 99 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ถือว่าเป็นค่าน้ำตาลตามเกณฑ์ปกติอยุ่ระหว่าง 100 – 125 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ถือว่าเป็นกลุ่ม...

อ่านต่อ

บลูสเปียร่า สาหร่ายสไปรุลินากับระดับไขมันในเลือด

เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2565 สถาบันนวัตกรรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยพะเยา ได้ทำพิธีส่งมอบเทคโนโลยีจากผลงานวิจัยโครงการ "ผลของการบริโภคสไปรุลิน่าต่อการทำงานของไตและระดับไขมันในเลือด"  โดยมีนักวิจัย คือ ดร.วิทวัส สัจจาพงศ์ คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ ...

อ่านต่อ