แต่ละวัย รับน้ำตาล ได้เท่าไหร่

แต่ละวัย รับน้ำตาล ได้เท่าไหร่ #1

แต่ละเพศ และวัย มีความสามารถในการรับน้ำตาลไม่เท่ากัน เคยสังเกตุตัวเองมั้ยว่าทานไปเท่าไหร่? ลดการบริโภคน้ำตาล เพื่อหลีกเลี่ยงโรคอ้วน ตัดวงจรการเกิดโรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคความดันโลหิตสูง เป็นต้น โดยปริมาณน้ำตาลที่เหมาะสมต่อวันของแต่ละช่วงอายุ (กองโภชนาการ, กรมอนามัย) มีดังนี้

  • ในเด็กและผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ควรบริโภคน้ำตาลไม่เกิน 16 กรัม ต่อวัน หรือเทียบได้กับน้ำตาล 4 ช้อนชา
  • วัยรุ่นหญิงชาย อายุ 14 – 25 ปี ควรบริโภคน้ำตาลไม่เกิน 24 กรัม ต่อวัน หรือเทียบได้กับน้ำตาล 6 ช้อนชา
  • หญิงชายที่ใช้พลังงานมาก ควรบริโภคน้ำตาลไม่เกิน 32 กรัม ต่อวัน หรือเทียบได้กับน้ำตาล 8 ช้อนชา
เทคนิคควบคุมการบริโภคน้ำตาลคือ การเปลี่ยนมาใช้น้ำตาลซองเพื่อชงชา กาแฟ เป็นขนาดบรรจุไม่เกิน 4 กรัมต่อซอง

ข้อมูล : สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

Lu7 แอลยูเซเว่น

หากคุณมีน้ำตาลในเลือดสูง ต่อเนื่องเป็นเวลานานๆ ให้ลองสังเกตว่าเริ่มมีอาการแทรกซ้อนเหล่านี้แล้วหรือไม่แอลยูเซเว่น คืออะไร??แอลยูเซเว่น  คือ ส่วนผสมของสมุนไพรที่มีงานวิจัย และเป็นสมุนไพรธรรมชาติ ปลูกด้วยระบบเกษตรอินทรีย์ ใส่ใจขั้นตอนการปลูก และ การเก็บ...

ดูรายละเอียด

ความดันโลหิต คอเรสเตอรอล

บทความน่ารู้

สมุนไพรสกัดจากธรรมชาติ พาว

จากประสบการณ์ดูแลตัวเองมาตลอดเกือบ 40 ปี  เห็นปัญหาของคนเจ็บป่วยที่ส่วนใหญ่เลือกใช้ชีวิตแบบใช้ไปก่อน รักษาทีหลัง ซึ่งบางทีก็สายเกินไป  ผมจึงพยายามแนะนำทุกคนให้ดูแลตัวเองในแบบวิถีธรรมชาติในวันที่เรายังมีตัวเลือกผมเชื่อว่าร่างกายเราคือ ความมหัศจรรย์จา...

อ่านต่อ

ผู้เชี่ยวชาญญี่ปุ่น แนะนำให้ทาน เพื่อลดน้ำตาลในเลือด

ระดับน้ำตาลในเลือดที่เพิ่มสูงขึ้นส่งผลทำให้ร่างกายผลิตอินซูลินมากขึ้นเพื่อเปลี่ยนน้ำตาลให้เป็นไขมันและนำไปสะสมไว้ในร่างกาย หากชอบทานอาหารที่มีรสหวานและทานในปริมาณมากบ่อยๆ ก็จะทำให้ร่างกายผลิตอินซูลินผิดปกติและนำไปสู่การเกิดโรคเบาหวาน นอกจากนี้หากระด...

อ่านต่อ

กระเทียม สกัดเย็น สกัดร้อน แตกต่างกันอย่างไร

กระเทียมสกัดในท้องตลาดนั้น หลายท่านจะสังเกตเห็นว่ามีอยู่ 2 รูปแบบใหญ่ๆ คือสกัดเย็น และสกัดร้อน ซึ่งทั้งสองแบบต่างก็มาจากกระเทียมเช่นเดียวกัน แต่มีความแตกต่างกันที่กระบวนการสกัด และผลผลิตสุดท้ายสกัดเย็น – ผลผลิตที่ได้จะอยู่ในรูปน้ำมันใส สกัดร้อน – ผลผ...

อ่านต่อ

อาหารสำหรับ ผู้ป่วยไขมันในเลือดสูง

ไขมันในเลือดสูง อาจเป็นระดับโคเลสเตอรอลสูงหรือระดับไตรกลีเซอร์ไรด์สูงอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือสูงทั้งสองชนิดก็ได้ ภาวะไขมันในเลือดสูงสามารถทำให้หลอดเลือดแข็ง ตีบ อุดตัน ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่ทำให้เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด เมื่อตรวจพบและทราบว่ามีไข...

อ่านต่อ

ไขมันตัวร้าย นำพามาสารพันโรค

ไขมันในเลือดสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคมากมาย โดยเฉพาะโรคเกี่ยวกับหลอดเลือดเช่น โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ  โรคหลอดเลือดสมอง นำพาไปสู่อาการอัมพฤกษ์ อัมพาตได้ชนิดของไขมันในเลือด ไขมันในเลือดแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ คอเลสเตอรอล และ ไตรกลีเซอร์ไรด์&n...

อ่านต่อ