ใครที่เสี่ยงเป็นโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง

ใครที่เสี่ยงเป็นโรค<strong>แพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง</strong> #1

ใครที่เสี่ยงเป็นโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง?

แม้ว่าโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง โรคพุ่มพวง เอสแอลอี หรือลูปัส จะไม่ได้พบกันบ่อยๆ แต่ก็พบได้เรื่อยๆ พบได้ตั้งแต่เด็กไปจนถึงผู้สูงอายุ แม้ว่าจะหาสาเหตุที่แท้จริงไม่ได้ แต่ก็มีปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้ภูมิคุ้มกันทำงานผิดปกติอยู่หลายประการ ได้แก่

  • พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน เช่น การเปลี่ยนแปลงฮอร์โมนของเพศหญิงในช่วงตั้งครรภ์ หรือช่วงวัยที่กำลังเจริญเติบโต
  • ความผิดปกติจากพันธุกรรม (ชนิดที่ถ่ายทอดได้) การถ่ายทอดทางพันธุกรรมอาจส่งต่อลักษณะบางอย่างที่ทำให้มีโอกาสเป็นโรคได้ 
  • ติดเชื้อจากแบคทีเรีย หรือไวรัสบางชนิด
  • มีอาการแพ้กับสิ่งต่างๆ เช่น แสงแดด สำหรับคนที่มีผิวไวต่อแดด การสัมผัสแสงแดดอาจทำให้เกิดรอยโรค เป็นเหตุให้เกิดอาการต่าง ๆ ตามมาการวินิจฉัยโรคพุ่มพวง
  • สูบบุหรี่ และยาสูบต่าง ๆ
  • ผลข้างเคียงจากการใช้ยาบางชนิด เช่น ยาป้องกันการชัก ยาคุมกำเนิด ยาลดน้ำหนักบางชนิด  ยาปฏิชีวนะ และยากลุ่มควบคุมความดันโลหิต
  • เครียด ทำงานหนัก ออกกำลังกายมากเกินไป

ใครที่เสี่ยงเป็นโรค<strong>แพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง</strong> #2

การป้องกันโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง

โรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเองไม่มีวิธีป้องกันได้ 100% แต่ก็มีวิธีที่จะช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นโรคนี้ได้ด้วยการดูแลรักษาร่างกายของตัวเองให้แข็งแรงอยู่เสมอหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงที่อาจทำให้เกิดโรค รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ออกกำลังกายเป็นประจำ พักผ่อนให้เพียงพอ ไม่เครียดจนเกินไป ไม่สูบบุหรี่ ไม่ตากแดดที่ร้อนจ้าหรือเป็นเวลานาน และหลีกเลี่ยงสารเคมีเป็นพิษในชีวิตประจำวัน รักษาสุขอนามัยของตัวเองให้สะอาด ลดโอกาสในการติดเชื้อ และปรึกษาแพทย์ทุกครั้งก่อนทานยาอะไรเป็นประจำ

POW Zukar Q พาวซูการ์คิว

กลุ่มโรค NCDs เป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหาร การดื่มแอลกฮอล์ การสูบบุหรี่ การไม่ออกกำลังกาย การนอนดึก มีภาวะความเครียดสูง  ตัวอย่างของโรค NCDs ได้แก่ โรคไขมันในเลือดสูง โรคความดันสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ  โรคห...

ดูรายละเอียด

สุขภาพชาย

บทความน่ารู้

โรคเชื้อราในลำไส้ คืออะไร

เชื้อราในลำไส้ ก็เช่นเดียวกับเชื้อราในผิวหนัง หรือเชื้อราที่ศรีษะ เพียงแค่เกิดขึ้นกับอวัยวะภายในโดยเฉพาะผิวลำไส้  ซึ่งในลำไส้จะประกอบไปด้วยเชื้อรา แบคทีเรีย และจุลินทรีย์ที่ดี ซึ่งจะมีอยู่พึ่งพากันและสมดุลไม่มีตัวใดตัวหนึ่งมากหรือน้อยเกินไป  เชื้อรา...

อ่านต่อ

Powderlar วิธีทาน

Powderlar วิธีทาน สุขภาพดีแค่ 3 stepฉีกซองพาวเดอร์ล่า 1 ซอง เทลงในแก้วที่แห้งเติมน้ำใส่แก้ว ประมาณ 30 ml. แนะนำควรเป็นน้ำเปล่าอุณหภูมิปกติจะช่วยให้ละลายง่ายขึ้นคนละลายให้เข้ากัน แล้วดื่มได้ทันที...

อ่านต่อ

น้ําพลูคาว ยี่ห้อไหนดี

เนื่องจากประโยชน์ของใบพลูคาวมีมากมาย และด้วยกลิ่นและรสชาติของใบสดที่มีกลิ่นคาว ขื่น เผ็ดร้อน ทำหลายท่านมีความลำบากในการที่จะรับประทานสด  จึงได้มีผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่นำใบพลูคาวมาสกัดในรูปแบบของน้ำสมุนไพร และในแบบแคปซูล เพื่อความสะดวกในการรับประทาน แ...

อ่านต่อ

โปรตีนจากพืช ทางเลือกประโยชน์ต่อสุขภาพ

โปรตีนจากพืช (Plant based Protein) หนึ่งทางเลือกของสายสุขภาพในกลุ่มอาหารประเภทโปรตีน ซึ่งในพืชนอกจากจะอุดมไปด้วยใยอาหาร วิตามิน และแร่ธาตุต่าง ๆ ที่จำเป็นต่อร่างกายแล้ว โปรตีนจากพืชยังนับเป็นแหล่งอาหารชั้นดีที่เหมาะสำหรับคนหลายกลุ่ม ทั้งผู้ที่ไม่บริ...

อ่านต่อ

ไขมันพอกตับ ไขมันเกาะตับ

โรคไขมันพอกตับ Fatty Liver Disease หรือไขมันเกาะตับ เป็นกลุ่มของโรคที่เกิดจากการสะสมไขมันในตับมากเกินปกติ คือประมาณ 5-10% ของตับ ไขมันที่เข้าไปแทรกตับนั้นมักเป็นไขมันชนิดไตรกลีเซอไรด์  ภาวะไขมันพอกตับนี้เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่ทำให้ผลการทำงานของตั...

อ่านต่อ