ข้อควรระวังในการรับประทานเบต้ากูลแคน

ข้อควรระวังในการรับประทานเบต้ากูลแคน #1

การรับประทานเบต้ากลูแคนค่อนข้างปลอดภัยต่อร่างกาย !!แต่เพราะยังไม่มีการวิจัยที่รับรองความปลอดภัยในระยะยาว จึงควรรับประทานในปริมาณที่เหมาะสม เพื่อความปลอดภัยและลดความเสี่ยงการเกิดผลข้างเคียง สำหรับผู้ที่อยู่ในภาวะต่อไปนี้ควรระมัดระวังในการบริโภคผลิตภัณฑ์อาหารเสริมที่มีส่วนผสมของเบต้ากลูแคนและสารอาหารอื่น ๆ เป็นพิเศษ

  • บต้ากลูแคนไม่มีผลในการป้องกันหรือรักษาโรค
  • ผู้ที่แพ้ปลาทะเลหรือน้ำมันปลาไม่ควรรับประทานผลิตภัณฑ์เบต้ากลูแคนสูตรผสมน้ำมันปลา
  • ผู้ที่รับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือด ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง ยาคุมกำเนิด และยารักษาโรคอ้วนบางชนิด ควรปรึกษาแพทย์ก่อนการใช้ผลิตภัณฑ์จากเบต้ากลูแคนสูตรผสมน้ำมันปลา เพราะอาจส่งผลให้ยามีประสิทธิภาพลดลง
  • สตรีมีครรภ์และผู้ให้นมบุตรควรปรึกษาแพทย์ผู้ดูแลก่อนการรับประทาน เพราะยังไม่มีงานวิจัยที่รับรองความปลอดภัยของการใช้เบต้ากลูแคนขณะตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร
  • ผู้ป่วยโรคเอดส์ หรือผู้ป่วยโรคเอดส์ในระยะเริ่มแสดงอาการที่รับประทานเบต้ากลูแคนจากยีสต์อาจส่งผลให้ฝ่ามือและฝ่าเท้าหนา แต่อาจหายไปได้หลังหยุดใช้เบต้ากลูแคนประมาณ 2–4 สัปดาห์  
  • ผู้ที่รับประทานยากดภูมิคุ้มกันควรปรึกษาแพทย์ก่อนการใช้ผลิตภัณฑ์จากเบต้ากลูแคน เพราะเบต้ากลูแคนจะไปกระตุ้นภูมิต้านทานร่างกาย จึงอาจทำให้ตัวยามีประสิทธิภาพลดลง เช่น ยาอะซาไธโอพรีน (Azathioprine) ยาไซโคลสปอริน (Cyclosporine) ยาเพรดนิโซน (Prednisone) เป็นต้น

แม้จะมีงานวิจัยที่ชี้ให้เห็นถึงคุณประโยชน์ของเบต้ากลูแคนต่อระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย แต่การเสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกันโดยเริ่มต้นที่ตัวเองก็เป็นสิ่งสำคัญที่ไม่ควรละเลยไป ไม่ว่าจะเป็นพักผ่อนให้เพียงพอ รับประทานผักและผลไม้ให้มากขึ้น ออกกำลังเป็นประจำ ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ทำกิจกรรมผ่อนคลายความเครียด ไม่สูบบุหรี่หรือดื่มแอลกอฮอล์ เพราะสิ่งเหล่านี้ไม่จำเป็นต้องเสียเงินซื้อ เพียงแค่ปรับพฤติกรรมตัวเอง ก็ช่วยให้เรามีภูมิคุ้มกันที่ดีได้อย่างยั่งยืน

ที่มาของข้อมูล : POBPAD

POW Zukar Q พาวซูการ์คิว

กลุ่มโรค NCDs เป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหาร การดื่มแอลกฮอล์ การสูบบุหรี่ การไม่ออกกำลังกาย การนอนดึก มีภาวะความเครียดสูง  ตัวอย่างของโรค NCDs ได้แก่ โรคไขมันในเลือดสูง โรคความดันสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ  โรคห...

ดูรายละเอียด

สุขภาพชาย

บทความน่ารู้

ข้อควรระวัง และ โทษจากการดื่มชา

ชานอกจากจะมีประโยชน์แล้ว ก็มีโทษแอบแผงอยุ่เช่นกัน เพราะในใบชามีกรดแทนนิก (Tannic Acid) ที่เป็นอันตรายต่อระบบทางเดินอหาร ยิ่งใบชาเกรดต่ำก็ยิ่งมีกรดแทนนิกสูง ซึ่งในการดื่มชานั้นมีข้อควรระวังดังนี้ไม่ควรดื่มชาพร้อมกับการรับประทานยาที่ใช้รักษาอาการเจ็บป...

อ่านต่อ

โรคทางสมอง ทางพันธุกรรม

โรคทางสมองใดบ้าง ที่อาจมีสาเหตุมาจากพันธุกรรมอัลไซเมอร์อัลไซเมอร์ ไม่เพียงแต่เกิดขึ้นในคนที่อายุมากเท่านั้น แต่อัลไซเมอร์ที่มีสาเหตุมาจากพันธุกรรมก็สามารถเกิดขึ้นกับคนอายุน้อยได้เช่นกัน แม้จะดูแลตัวเองดีมากก็ตามอัลไซเมอร์แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ มี...

อ่านต่อ

อาหารชะลอวัย ไม่แก่

เชื่อว่าใครๆก็ยังอยากดูดี ดูสดใส ไม่อยากร่วงโรยไปตามวัยกันทั้งนั้น 5 อาหารใกล้ตัว ที่มีสรรพคุณช่วยชะลอวัย รับรองได้ว่ารู้แล้วจะรีบเข้าครัวไปหามาด่วนๆ ไม่อยากแก่ แค่กินอาหารเหล่านี้ ก็ช่วยได้ กระเทียมมีคุณประโยชน์มากมาย ทั้งเป็นแหล่งรวมสารต้านอน...

อ่านต่อ

ซินไบโอติก ดูแลลำไส้

ซินไบโอติก คือโปรไบโอติกสูตรที่ผสานเข้ากับพรีไบโอติก เพื่อเสริมการทำงานในการดูแลลำไส้ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารสูตรซินไบโอติก ต้องมีส่วนประกอบของทั้งโปรไบโอติกและพรีไบโอติก และควรระวังไม่ควรเลือกผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของยาถ่าย เพราะจะทำให้การขับถ่ายไม่ปกติ...

อ่านต่อ

เตรียมร่างกาย ก่อนรับ วัคซีนโควิด19

ฉีดวัคซีนโควิด-19 ต้องเตรียมตัวอย่างไร กรณีที่มีผลข้างเคียงหลังการฉีดวัคซีน เช่น ปวดแขน บวมบริเวณที่ฉีด มีไข้ต่ำ ๆ ปวดเมื่อยตัว หรืออ่อนเพลีย สาหตุอาจเป็นเพราะร่างกายกำลังตอบสนองต่อวัคซีนโควิด-19กรณีที่มีไข้สูงกิน 38 ํ C ปวดเมื่อยมาก อ่อนเพลียมาก ควร...

อ่านต่อ