ติดโควิด อยู่บ้านรอเตียง จะทำยังงัยดี

<strong>ติดโควิด</strong> อยู่บ้าน<strong>รอเตียง</strong> จะทำยังงัยดี #1

หากท่านติดโควิด แล้วไม่มีอาการอะไร เป็นเหมือนไข้หวัดธรรมดา ก็ไม่น่าห่วงเท่าไหร่ แต่จะมีผู้ติดเชื้อจำนวนหนึ่งที่เชื้อลงปอด แล้วทำให้เกิดปอดอักเสบ หรือ ปอดบวม อันนี้เริ่มน่าเป็นห่วง เพราะจะรบกวนการแลกเปลี่ยนก๊าซซึ่งเป็นหน้าที่หลักของปอด หากเป็นมากระดับหนึ่งจะทำให้ระดับออกซิเจนเลือดลดลง และจะลดลงมากยิ่งขึ้นหากการติดเชื้อลุกลาม ภาวะปอดบวมนี้จะทำให้ปอดขยายตัวยาก คือ หายใจเข้าได้น้อยลง เป็นมากรุนแรงขึ้น ยิ่งหายใจเข้าได้น้อย ระดับออกซิเจนในเลือดของท่านจะยิ่งต่ำลง แต่อวัยวะต่างๆในร่างกายของท่านยังต้องการพลังงานซึ่งต้องอาศัยออกซิเจนในปริมาณเท่าเดิม เมื่อปอดทำงานแย่ลง มันจะไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ดังนั้นหน้าที่ของท่านที่ต้องปฏิบัติตัว รอหมอ รอเตียง คือพยายามประคับประคองการทำงานของปอดให้สามารถนำออกซิเจนเข้าสู่เลือดในระดับที่เพียงพอ และ ลดระดับการใช้พลังงานของร่างกายลง โดยให้ปฏิบัติตัวดังต่อไปนี้

ลดระดับการใช้พลังงานของร่างกายลง

เมื่อเราติดเชื้อ เราจะมีไข้ ไข้จะสูงจะต่ำอยู่ที่การตอบสนองของร่างกายเรา หากมีไข้ ต้องลดไข้ก่อน เพราะยิ่งไข้สูงระดับการใช้พลังงานของร่างกายจะสูงขึ้น ยิ่งต้องการออกซิเจนมากขึ้น ในขณะที่ปอดเรากำลังแย่เราจะไม่ไหวแล้วจะผ่านมันไปไม่ได้ วิธีการลดอุณหภูมิร่างกายทำได้โดย

  • ทานยาลดไข้ ตามขนาดที่เหมาะสมกับตนเอง
  • เช็ดตัวด้วยน้ำอุณหภูมิห้องบ่อยๆ ทำวนไปจนไข้ลด
  • เช็ดสวนทางกับแนวขน เพราะเราต้องการเปิดรูขุมขนให้ระบายความร้อน
  • ผ้าขนหนูควรซับน้ำได้ดี ไม่ต้องหมาดมาก
  • สามารถวางผ้าชุบน้ำโป๊ะไว้บริเวณที่ร้อนมากๆ เช่น หน้าผาก ซอกคอ รักแร้ แผ่นหลัง ขาหนี วางโป๊ะไว้จนบริเวณนั้นอุณหภูมิลดลง หรือผ้าอุ่นจะต้องเปลี่ยนไปซุบผ้าใหม่ 
  • ดื่มน้ำให้มากขึ้น (หากท่านไม่ใช่ผู้ป่วยนที่มีโรคประจำตัวจนต้องจำกัดปริมาณน้ำ เช่นผู้ป่วยโรคไต โรคหัวใจบางประเภท ซึ่งผู้ป่วยมักจะทราบอยู่แล้ว) เพื่อคงระดับสมดุลน้ำในร่างกาย ถ้าน้ำมันเกินเราก็จะขับออกมาทางปัสสาวะเอง
  • ลดการทำกิจกรรมลง ทำแค่กิจวัตรประจำวันที่จำเป็นในช่วงมีไข้เท่านั้น เพื่อลดระดับความต้องการพลังงานของร่างกายให้มากที่สุด แต่ไม่ใช่นอนเฉยๆทั้งวันนะครับ 
  • กิจกรรมใดที่ทำให้หัวใจท่านเต้นเร็วขึ้นมากแสดงว่าใช้พลังงานมากขึ้น 
  • จับชีพจรที่เส้นเลือกบริเวณข้อมือจะพอทราบว่าเต้นกี่ครั้งต่อนาที ถ้าช่วงที่ไข้ขึ้น หัวใจท่านอาจจะเต้นเร็วขึ้นเช่นกัน

POW DERLA พาวเดอร์ล่า

พาวเดอร์ล่า POWDERLA  พาวรูปแบบใหม่ พาวผงชงดื่ม ได้ประโยชน์ อร่อย ชงง่าย โดยมีพลูคาวเป็นส่วนผสมหลัก นอกจากนี้ยังประกอบไปด้วย ขิง  กระชายขาว  ตรีผลา (สมอไทย มะขามป้อม สมอพิเภก) ใบหม่อน  ชะเอมเทศ  เก๊กฮวย  เจียวกู้หลาน  แป๊ะก๊วย  ใบบัวบก  งาดำ  สารสกัด...

ดูรายละเอียด

สุขภาพหญิง

บทความน่ารู้

การดูแลผิวพรรณเมื่อเข้าสู่ภาวะวัยทอง

เมื่ออายุย่างเข้าเลข 4 หรือวัย 40+  ภาวะเข้าสู่วัยทอง ผิวพรรณ เป็นอีกสิ่งที่เห็นความแตกต่างได้ชัดเจน ทั้งริ้วรอยเพิ่มขึ้น ความเต่งตึงของผิวลดลง  ฝ้า กระ จุดต่างดำเห็นได้ชัด มีภาวะผิวแห้ง คัน  เนื่องจากฮอร์โมนเอสโตรเจนตก  คอลลาเจนและอิลาสตินในชั้นผิว...

อ่านต่อ

ยังไม่ถึงวัยทอง น้องสาวก็ แห้ง ได้

ความเข้าใจดั้งเดิม เมื่อพูดถึงปัญหาช่องคลอดแห้ง เรานึกถึงว่าเป็นปัญหาของหญิงวัยทอง หรือวัยใกล้หมดประจำเดือนเพียงเท่านั้น  แต่จากการศึกษาทางการแพทย์พบว่าภาวะช่องคลอดและปากช่องคลอดแห้ง สามารถพบให้ผู้หญิงได้ทุกวัย โดยสาเหตุหลักเกิดจากระดับฮอร์โมนเอ...

อ่านต่อ

ไขข้อข้องใจ สร้างภูมิสู้ไวรัส

กระแสที่เกิดขึ้นตอนนี้ หลายคนตื่นตระหนกและหวาดกลัว ไปจนถึงหวั่นใจ กับคำถามมากมายว่าเชื้อโรคและไวรัสน่ากลัวแค่ไหน ภูมิต้านทานหรือภูมิคุ้มกันสำคัญแค่ไหน และจะเสริมสร้างภูมิคุ้มกันได้อย่างไร มาไขข้อข้องใจเรื่องไวรัสกับภูมิต้านทานในร่างกายของเรากับ นพ.ส...

อ่านต่อ

พาวเดลี่ โปรตีนที่ผู้สูงวัยทานได้

พาวเดลี่ โปรตีนจากพืช5ชนิด ผู้สูงวัยท่านได้ เหมาะกับผู้สูงวัย เพราะไม่มีส่วนผสมจากนมวัว ย่อยง่ายมีโปรตีนถึง 17กรัม/ซองมีสารอาหารครบ 5หมู่มีสารสกัดจากผักและผลไม้ 14ชนิดมีแคลเซียมชนิดไม่ทำให้ท้องผูกมีพรีไบโอติกส์และไฟเบอร์ ช่วยการขับถ่ายไม่มีน้ำตาลอร่...

อ่านต่อ

ทานปลาดีอย่างไร

โปรตีนมีดีที่ย่อยง่าย โดยทั่วไปในเนื้อปลามีโปรตีนประมาณร้อยละ 17-23 ซึ่งเป็นโปรตีนที่ย่อยง่ายกว่าเนื้อสัตว์ชนิดอื่นๆ ทำให้ระบบการย่อยอาหารของเราไม่ต้องทำงานหนัก อีกทั้งโปรตีนยังมีประโยชน์ ช่วยซ่อมแซมเนื้อเยื่อหรือส่วนต่างๆ ที่สึกหรอ และเสริมสร้างร่า...

อ่านต่อ