ถาม ตอบ ป้องกัน ตัวเอง ก่อนป่วย

กระแสที่เกิดขึ้นตอนนี้ หลายคนตื่นตระหนกและหวาดกลัว ไปจนถึงหวั่นใจ กับคำถามมากมายว่า เชื้อโรคและไวรัสน่ากลัวแค่ไหน ภูมิต้านทานหรือภูมิคุ้มกันสำคัญแค่ไหน และจะเสริมสร้างภูมิคุ้มกันได้อย่างไร มาไขข้อข้องใจเรื่องไวรัสกับภูมิต้านทานในร่างกายของเรากับ นพ.สุชาติ เลาบริพัตร แพทย์เฉพาะทางด้านระบาดวิทยา และ ผศ.ดร. เอกสิทธิ์ จงเจริญรักษ์ นักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญ ที่ตอบทุกข้อสงสัยให้เราเข้าใจเรื่องการสร้างภูมิสู้ไวรัส จะได้รู้ทันและป้องกันตัวเองจากโรคระบาดได้ดีขึ้น

ไวรัสมีหลายประเภท สามารถเข้าสู่ร่างกายด้วยช่องทางที่แตกต่างกัน ทั้งทางผิวหนัง ทางเดินอาหาร และทางเดินหายใจ ซึ่งแต่ละช่องทางที่ไวรัสเข้าสู่ร่างกายของเราจะมีภูมิต้านทานคอยต่อสู้กับไวรัส

การที่คนเราจะป่วยหรือติดโรคมีอยู่ 2 ปัจจัย คือปริมาณเชื้อไวรัสที่เข้ามามีมากน้อยแค่ไหน และภูมิต้านทานของเราสามารถต่อสู้กับไวรัสได้ไหม ถ้าเชื้อเข้ามาในปริมาณมากแต่ภูมิต้านทานน้อย ร่างกายสู้ไม่ได้ ก็ป่วย ตรงกันข้าม ถ้าเชื้อเข้าสู่ร่างกายน้อยและภูมิต้านทานสูง เราก็สู้ชนะ

มิต้านทานของร่างกายมีอยู่สองกลุ่มใหญ่ คือภูมิต้านทานทั่วไปซึ่งอยู่ในบริเวณต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นผิวหนัง ทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ เมื่อเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรียเข้าสู่ร่างกาย ภูมิต้านทานเหล่านี้จะต่อสู้เหมือนทหารที่คอยป้องกันชายแดน แต่หากไวรัสบุกเข้ามาในปริมาณมาก ภูมิต้านทานกลุ่มนี้จะสู้ไม่ไหว ร่างกายจึงมีภูมิต้านทานอีกประเภทหนึ่ง เรียกว่าภูมิต้านทานเฉพาะ ทำหน้าที่เหมือนหน่วยรบพิเศษ ที่สามารถสู้กับเชื้อไวรัสที่มีปริมาณมากหรือแข็งแกร่งได้

ปัจจัยต่างๆ ทั้งมลภาวะในอากาศ การรับประทานอาหารที่อาจจะมีสารตกค้าง สารพิษต่างๆ หรือแม้กระทั่งการนอนหลับไม่เพียงพอ การไม่ได้ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายอ่อนแอลง ส่งผลให้เรามีโอกาสเสี่ยงที่จะได้รับเชื้อไวรัสหรือเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายและเกิดโรคได้

กลุ่มแรกก็คือกลุ่มคนสูงอายุ อีกกลุ่มคือคนที่มีโรคเรื้อรัง ไม่ว่าจะเป็นโรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคมะเร็ง กลุ่มคนเหล่านี้ภูมิต้านทานของร่างกายอ่อนแอ ไม่สามารถทำลายเชื้อไวรัสที่เข้าสู่ร่างกายในปริมาณมากๆ ได้ เมื่อทำลายได้ไม่หมดไวรัสก็เจริญเติบโต และทำให้เกิดโรคได้ง่าย

ต้องเคร่งครัดดูแลสุขภาพ รับประทานผักผลไม้หรืออาหารเสริม เพราะมีการพิสูจน์แล้วว่าวิตามินดี วิตามินซี และกลุ่มแอนตี้ออกซิแดนท์ที่ได้จากผัก ผลไม้ และอาหารเสริม จะสามารถต่อต้านเชื้อไวรัสได้

การรับประทานสารสกัดที่มีฤทธิ์ในการกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันอย่างต่อเนื่อง จะทำให้เรามีระบบภูมิคุ้มกันที่แข็งแรงอยู่เสมอ พร้อมที่จะต่อสู้กับไวรัสต่างๆ และโรคที่จะเข้ามาสู่ร่างกายเราได้

POW พาว น้ำสมุนไพรพลูคาว ขนาด 375 ml พาวเอสเซ้นส์

พาวน้ำขนาดใหม่  375 ml. พกพาสะดวกพาวน้ำ หรือ พาวซุยยากุเอสเซ้นส์ พาวขวดเล็ก พกพาสะดวก และเหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการทดลองทาน อัดแน่นด้วยส่วนผสมสมุนไพรที่มีประโยชน์เหมือนเดิม ประกอบด้วยสมุนไพรทั้งหมด 11 ชนิด ได้แก่ พลูคาว ใบมะรุม ลูกยอ กระชายดำ ตังก...

ดูรายละเอียด

ป้องกันมะเร็ง

บทความน่ารู้

เดินออกกำลังกาย ช่วยลดความเสี่ยงโรคมะเร็ง ได้จริงหรือ

เดินออกกำลังกาย ช่วยลดความเสี่ยงโรคมะเร็งได้จริงหรือ?ถึงแม้โรคมะเร็งจะเกิดจากความผิดปกติของเซลล์อวัยวะภายในร่างกาย แต่ไม่ต้องเป็นกังวลไป หากคุณมีการดูแลสุขภาพตนเองให้ดีด้วยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และหมั่นออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ก็อาจสามารถช่ว...

อ่านต่อ

หันมาป้องกันโรคเรื้อรัง Ncds อย่างจริงจังกันเถอะ

กระทรวงสาธารณสุขประเทศไทยพบโรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้น 3 แสนคนต่อปี ถึงเวลาแล้วไหมที่ต้องหันมาป้องกันโรคอย่างจริงจัง ในกลุ่ม Ncds นี้ยังคงเพิ่มจำนวนผู้ป่วยต่อเนื่องในทุกๆปี กรมควบคุมโรค เผยสถานการณ์โรคเบาหวา...

อ่านต่อ

มะเร็งสมอง คือ

กรมการแพทย์ แนะวิธีสังเกตสัญญาณเตือน มะเร็งสมอง โรคจากเนื้องอกชนิดเนื้อร้าย ที่มีการเจริญเติบโตของเซลล์ที่ผิดปกติ อาจเกิดเริ่มต้นจากเนื้อสมอง หรือเกิดขึ้นที่อวัยวะอื่นแล้วกระจายเข้าสู่สมอง แนะหากมีอาการผิดปกติทางระบบประสาท ควรพบแพทย์เพื่อรักษาทันที ...

อ่านต่อ

พลูคาว คือ

พลูคาว หรือผักคาวตอง เป็นผักพื้นบ้านที่นิยมรับประทานใบสดแกล้มอาหาร โดยเฉพาะอาหารเหนือและอีสาน เช่น ลาบ ก้อย และแจ่ว และมีงานศึกษาวิจัยของหลายสถาบันที่รับรองสรรพคุณประโยชน์ของพลูคาว ว่ามีสรรพคุณรักษาหรือป้องกันโรคร้ายต่าง ๆ เช่น โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน ช...

อ่านต่อ

พาว การรับประทาน วิธีการเก็บรักษา

การรับประทานพาวมีลูกค้าหลายๆ ทานที่ซื้อพาวไป ได้สอบถามวิธีการรับประทานพาวมาหลายข้อความ วิธีทานพาว วิธีดื่มพาว มีข้อควรระวังอะไรบ้าง มีคำตอบดังนี้ครับ ควรเริ่มดื่มพาว วันละ 15ml. (ประมาณเกือบครึ่งแก้วตวง) หลังอาหาร มื้อใดก็ได้ ในกรณีมียาประจำที่ต้องท...

อ่านต่อ