อาชีพ ที่เสี่ยงกับ โรคมะเร็ง

อาชีพ ที่เสี่ยงกับ โรค<strong>มะเร็ง</strong> #1

การได้รับสารเคมีจากการทำงานบางชนิดเป็นระยะเวลานาน (4-40 ปี) อาจเป็นเหตุให้เซลล์มีการแบ่งตัวมากผิดปกติ เกิดการเจริญเติบโตของเซลล์จนไม่สามารถควบคุมได้ ทำให้เกิดเนื้องอกชนิดร้ายแรงหรือ มะเร็ง ตามข้อมูลที่ระบุไว้ในเว็บไซต์กองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สามารถสรุปและยกตัวอย่างอาชีพที่เกี่ยวข้องออกเป็น 4 ลักษณะงาน ว่าอาชีพไหนเสี่ยงที่จะได้รับสารก่อมะเร็ง และ อวัยวะใดที่จะได้รับผลกระทบในการเกิดมะเร็ง

คนงานเหมือง โรงถลุงแร่

อาชีพและลักษณะงานที่เกี่ยวข้อง คนงานเหมือง / โรงถลุงแร่ อุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้าง การรื้อซ่อมอาคาร สารก่อโรค คือ แร่ใยหิน (แอสเบสตอส) อวัยวะเป้าหมายที่จะเกิดมะเร็ง คือ ปอด ทางเดินอาหาร เยื่อหุ้มปอด

อุตสากรรมไม้ แปรรูปไม้

พบในอาชีพและลักษณะงานที่เกี่ยวข้อง อุตสากรรมไม้ และแปรรูปไม้ สารก่อโรค คือ ฝุ่นไม้  เขม่า อวัยวะเป้าหมายที่จะเกิดมะเร็ง คือ โพรงจมูก

เม็ดสี และ สีย้อม

พบในอาชีพ และลักษณะงานที่เกี่ยวข้อง คือ การผลิตเม็ดสี และสีย้อม ใช้เป็นสารเคมีในห้องปฏิบัติการ สารก่อโรค คือ เบนซิดีน อวัยวะเป้าหมายที่จะเกิดมะเร็ง คือ กระเพาะปัสสาวะ

น้ำมันหล่อลื่น น้ำมันเชื้อเพลิง

พบในอาชีพ และลักษณะงานที่เกี่ยวข้องกับ คือ น้ำมันหล่อลื่น น้ำมันเชื้อเพลิง สารก่อโรค คือ น้ำมันที่ได้จากหินดาล (Shale oil) อวัยวะเป้าหมายที่จะเกิดมะเร็ง คือ ผิวหนัง

ชาขาว ชาขาวเข็มเงิน ห้วยน้ำกืน เวียงป่าเป้า เชียงราย

Baihao Yinzhen ไป๋หาวหยินเจิน ชาขาวเข็มเงิน หรือในภาษาอังกฤษเรียกว่า Silver Needle ด้วยลักษณะเหมือนเข็ม มีขนสีขาวประกายเงินปกคลุม จึงเรียกว่าเข็มเงิน ชาขาวเข็มเงิน ตราบ้านชาไทย ปลูกบนยอดเขาสูงไม่น้อยกว่า 1,300 เมตรจากระดับน้ำทะเล จากไร่ชาบ้านห้วยน้ำก...

ดูรายละเอียด

ป้องกันมะเร็ง

บทความน่ารู้

จุลินทรีย์ ที่อยู่ในร่างกาย ของเรา

Akkermansia จุลินทรีย์รักษาสมดุลภูมิคุ้มกันจุลินทรีย์พระเอกของสุขภาพร่างกายเรา ทำหน้าที่ผลิตกรดไขมันสายสั้น (short chain fatty acid) ที่ช่วยเสริมทัพความแข็งแรงของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายได้แก่ กรดแอซิติก กรดโพรพิโอนิก และกรดบิวทิริก แถมยังช่วยป้องกัน...

อ่านต่อ

พาว การรับประทาน วิธีการเก็บรักษา

การรับประทานพาวมีลูกค้าหลายๆ ทานที่ซื้อพาวไป ได้สอบถามวิธีการรับประทานพาวมาหลายข้อความ วิธีทานพาว วิธีดื่มพาว มีข้อควรระวังอะไรบ้าง มีคำตอบดังนี้ครับ ควรเริ่มดื่มพาว วันละ 15ml. (ประมาณเกือบครึ่งแก้วตวง) หลังอาหาร มื้อใดก็ได้ ในกรณีมียาประจำที่ต้องท...

อ่านต่อ

พาวเมาท์สเปรย์ ลดแบคทีเรียในปาก

พาวเมาท์สเปรย์ ช่วยลดแบคทีเรียในช่องปากได้ถึง 99.96% ไม่ใช่แค่บอก แต่เราได้ทำการทดสอบมาแล้ว จาก โครงการการทดสอบประสทิธิภาพและความปลอดภัย ของผลิตภัณฑ์สเปรย์ระงับกลิ่นปากผสมสารสกัดสมุนไพร ได้รับการสนับสนุนจัดหาผู้เชี่ยวชาญโดย ITAP สวกช. (เลขที่อนุมัต...

อ่านต่อ

ข้อห้ามและข้อควรระวังในการทาน พลูคาว

พลูคาว หรือผักคาวตอง พืชสมุนไพรพื้นถิ่น นอกจากประโยชน์สรรพคุณที่เราทราบกันแล้ว ยังมีข้อห้าม ข้อควรระวังในการรับประทานเช่นเดียวกัน หากรับประทานพลูคาว "มากจนเกินไป" อาจทำให้เกิดผลข้างเคียง คือ พลูคาวมีฤทธิ์ทำให้หายใจสั้นและถี่ขึ้น อาจทำให้อาเจียน หรือห...

อ่านต่อ