ค่าน้ำตาลสะสม

ค่าน้ำตาลสะสมของคุณเท่าไร? ถ้าตอบไม่ได้ ถ้าไม่รู้ บอกเลยว่า เบาหวานที่เป็นอยู่ หายยากแน่นอน บทความนี้บอกว่าค่านี้สำคัญยังไง

<strong>ค่าน้ำตาลสะสม</strong> #1

ผู้ป่วยเบาหวาน ควรตรวจหาค่าน้ำตาลสะสม ทุกๆ 3เดือน

การตรวจหาค่าน้ำตาลสะสม ส่วนใหญ่จะใช้เลือดจากเส้นเลือดที่แขน ซึ่งส่วนใหญ่หมอจะตรวจให้ทุกปี ผลที่แสดงในใบแล็ปคือค่าที่เขียนว่า HbA1C ซึ่งค่าตัวเลขที่ดีคืออยู่ระหว่าง 4-6% และจะสัมพันธ์กับค่าน้ำตาลปลายนิ้ว เช่น น้ำตาลปลายนิ้ว 101mg./dL จะเท่ากับน้ำตาลสะสม 5% ซึ่งการตรวจน้ำตาลสะสมนี้ จะหลอกหมอไม่ได้ เพราะเป็นค่าน้ำตาลในเลือดเราย้อนหลัง 3เดือน ซึ่งมีความแม่นยำกว่าการเจาะปลายนิ้วมาก แต่ด้วยค่าตรวจที่แพงกว่าแบบปลายนิ้ว จึงทำให้หมอตรวจให้แค่ปีละ 1ครั้ง ซึ่งในความเป็นจริง ผู้ป่วยเบาหวานควรตรวจค่านี้ทุกๆ 3เดือน ซึ่งถ้าคุณหมอไม่ตรวจให้ เราสามารถตรวจเองได้ตามแล็ปเอกชนทั่วไป ราคาประมาณ 300-500บาท เพราะการตรวจน้ำตาลสะสมนี้ถ้าเราสามารถทำตัวเลขได้ต่ำกว่า 5.7% และน้ำตาลปลายนิ้วต่ำกว่า 126 คุณหมอก็จะพิจารณาลดยาเบาหวานลง จนหยุดยาในที่สุดได้ จึงทำให้ลดการเกิดโรคแทรกซ้อนที่เกิดจากเบาหวาน และ โรคไตที่เกิดจากการทานยาปริมาณมากติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน

หมวดเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง

อาหารเสริมผู้สูงอายุ

ความสำคัญของการบริโภคอาหารที่จำเป็นต่อสุขภาพ และ สารอาหารที่มักมีปัญหาในผู้สูงอายุไทยเนื่องจาก บุคคลในวัยนี้จะมีปัญหาสุขภาพตามความเสื่อมของวัย ดังนั้นการคิดนวัตกรรมอาหารที่สอดคล้องกับสุขภาพของคนวัยนี้จึงมีความสำคัญเพื่อให้เกิดสังคมผู้สูงอายุที่มีสุขภ...

อ่านต่อ

ควบคุมน้ำหนัก

การควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน เพราะโรคอ้วน เป็นตัวการของโรคร้ายต่างๆ มากมาย ดังนั้นจึงควรควบคุมน้ำหนักให้ดีและอยู่ในเกณฑ์ที่ปกติอยู่เสมอ โรคร้ายที่อาจจะมาพร้อมกับความอ้วนได้แก่ โรคเบาหวาน โรคข้อเข่าเสื่อม โรคความดันโลหิตสูง มะเร็งเต้านม โรคหล...

อ่านต่อ

ต่อต้านอนุมูลอิสระ

สารต้านอนุมูลอิสระ (antioxidant) คือ สารประกอบที่สามารถป้องกันหรือชะลอกระบวนการเกิดออกซิเดชั่น(กระบวนการรวมตัวกับออกซิเจน) หน้าที่ของสารต้านอนุมูลอิสระ คือ ลดความเสี่ยงต่อโรคโดยเฉพาะโรคเรื้อรังที่สัมพันธ์กับอาหาร เช่น โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โร...

อ่านต่อ

เบาหวาน

โรคเบาหวาน คือ ความผิดปกติของตับอ่อนที่ผลิตอินซูลินไม่เพียงพอ ก่อให้เกิดระดับน้ำตาลในเลือดสูง เป็นโรคเรื้อรังที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพหลายระบบ ฟัน เหงือก ตา ไต หัวใจ สมอง และ หลอดเลือด รวมทั้งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต  อาการของเบื้องต้นที่สามารถสังเ...

อ่านต่อ

บำรุงไต ทางเดินปัสสาวะ

ระบบทางเดินปัสสาวะของคนเราประกอบด้วยไต ท่อไต2ข้าง กระเพาะปัสสาวะ และท่อปัสสาวะไตมีหน้าที่กรองของเสียออกมาในรูปปัสสาวะนำออกมาท่อไต ไปกระเพาะปัสสาวะ และสุดท้ายที่ท่อปัสสาวะ ภาวะติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ พบทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ พบในผู้หญิงมากกว่าชายโดยเฉพ...

อ่านต่อ