ปวดหลังแบบไหน อันตรายจนต้องพบแพทย์

<strong>ปวดหลัง</strong>แบบไหน อันตรายจนต้องพบแพทย์ #1

โดยปกติเราแบ่งอาการปวดหลัง เป็น 2 แบบ 

  1. ปวดเฉียบพลัน (Acute: ปวดหลังต่อเนื่องน้อยกว่า 6 สัปดาห์) กึ่งเฉียบพลัน (Subacute: ปวดหลังต่อเนื่อง 6-12 สัปดาห์)
  2. ปวดเรื้อรัง (Chronic: ปวดหลังต่อเนื่องนานกว่า 12 สัปดาห์) ในประเทศอุตสาหกรรม ความชุกชั่วชีวิต (Lifetime Prevalence) ของโรคปวดหลังพบประมาณ 60-70% (ความชุกต่อปี ประมาณ 15-45% ส่วนอุบัติการณ์ในผู้ใหญ่พบได้ประมาณ 5% ต่อปี)

อาการปวดที่ต้องระวัง : อาการปวดหลังที่สัมพันธ์กับความเสื่อมของกระดูกสันหลัง ได้แก่ ภาวะกระดูกพรุน ภาวะกระดูกสันหลังคด หรือค่อม ผิดรูป

ปวดหลังแบบไหนอันตรายต้องรีบพบแพทย์

  • ปวดหลังต่อเนื่อง และปวดมากขึ้นเรื่อยๆ มากกว่า 4 สัปดาห์
  • ปวดหลังที่เกิดจากอุบัติเหตุรุนแรง เช่น อุบัติเหตุจราจร ตกจากที่สูง
  • ปวดหลังร่วมกับความผิดปกติของระบบประสาท เช่น ปวดหลังร่วมกับอาการปวดร้าวลงขา ชาขา หรืออ่อนแรงของขา
  • ปวดหลังร่วมกับการควบคุมการขับถ่ายที่เสียไป เช่น สูญเสียการกลั้นอุจจาระ/ปัสสาวะ
  • ปวดหลังร่วมกับอาการไข้ น้ำหนักลด

หากมีอาการดังนี้ให้รีบพบแพทย์เพื่อตรวจโดยละเอียดด่วน

ชาขาว ชาขาวเข็มเงิน ห้วยน้ำกืน เวียงป่าเป้า เชียงราย

Baihao Yinzhen ไป๋หาวหยินเจิน ชาขาวเข็มเงิน หรือในภาษาอังกฤษเรียกว่า Silver Needle ด้วยลักษณะเหมือนเข็ม มีขนสีขาวประกายเงินปกคลุม จึงเรียกว่าเข็มเงิน ชาขาวเข็มเงิน ตราบ้านชาไทย ปลูกบนยอดเขาสูงไม่น้อยกว่า 1,300 เมตรจากระดับน้ำทะเล จากไร่ชาบ้านห้วยน้ำก...

ดูรายละเอียด

อาหารเสริมผู้สูงอายุ

บทความน่ารู้

ลำไส้ดี ชีวิตยืนยาว

สุขภาพยังดีอยู่ไหม ให้ดูลึกถึงลำไส้ เพราะ 70% ของภูมิคุ้มกันอยู่ในนั้น หลายคนอาจยังไม่รู้ว่า ลำไส้ไม่ได้เป็นเพียงอวัยวะย่อยอาหาร แต่ยังเป็นบ้านของภูมิคุ้มกันหลังใหญ่ที่สุด หากสมดุลของลำไส้สะดุด จุลินทรีย์ดีในลำไส้ก็จะลดน้อยลง ส่งให้ภูมิคุ้มกันอ่อนแอ...

อ่านต่อ

โรคภูมิแพ้ เกิดจากความผิดพลาดของ ระบบภูมิคุ้มกัน

ความจริงแล้วโรคภูมิแพ้ เกิดจากการทำงานที่ผิดพลาดของระบบภูมิคุ้มกัน ไม่ใช่เพราะร่างกายเราอ่อนแอ ต้องดูแลให้ตรงจุดเมื่อภูมิคุ้มกันตรวจเจอสารที่ก่อภูมิแพ้ ระบบภูมิคุ้มกันจะปล่อยสารฮิสทามีน (histamine) ออกมาจัดการสารก่อภูมิแพ้ แต่ดันปล่อยออกมามากเกินไป ...

อ่านต่อ

ไขมันตัวร้าย นำพามาสารพันโรค

ไขมันในเลือดสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคมากมาย โดยเฉพาะโรคเกี่ยวกับหลอดเลือดเช่น โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ  โรคหลอดเลือดสมอง นำพาไปสู่อาการอัมพฤกษ์ อัมพาตได้ชนิดของไขมันในเลือด ไขมันในเลือดแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ คอเลสเตอรอล และ ไตรกลีเซอร์ไรด์&n...

อ่านต่อ

การป้องกันเบาหวานขึ้นตา

การป้องกันทำได้ด้วยการลดปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ ที่จะนำไปสู่ภาวะเบาหวานขึ้นตา และป้องกันอาการที่อาจรุนแรงมากขึ้นกว่าเดิม ซึ่งปฏิบัติได้ด้วยวิธีดังต่อไปนี้จัดการกับเบาหวานด้วยการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต เช่นเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ลดอาหารที่มีรสเค็ม ห...

อ่านต่อ

9 อาการ เตือน โรคเบาหวาน

กว่าจะรู้ตัว ก็เป็นเบาหวานเสียแล้ว สังเกตตัวเองว่าเข้าข่ายไปแล้วกี่ข้อ 9 อาการเตือน โรคเบาหวาน ดังนี้ ปัสสาวะบ่อยผิดปกติ คอแห้งกระหายน้ำ หิวบ่อยกินจุกว่าเดิม ผิวหนังแห้งและคัน เป็นแผลแต่หายช้ากว่าปกติ อ่อนเพลียไม่มีแรง มีอาการตาพล่ามัวมองไม่ชัดเป็นช่...

อ่านต่อ