ไขปมผู้ป่วย เบาหวาน ติดเชื้อโควิด ทำไมเสี่ยงตายสูง

ไขปมผู้ป่วย <strong>เบาหวาน</strong> ติดเชื้อ<strong>โควิด</strong> ทำไมเสี่ยงตายสูง #1

ไขปมผู้ป่วย "เบาหวาน" ติดเชื้อโควิด ทำไมเสี่ยงตายสูง?ซึ่งหากติดเชื้อโควิด19ส่งผลกระทบต่อการควบคุมเบาหวานได้แย่ลง เนื่องจากเอนไซม์ต่างๆที่เปลี่ยนแปลงไป เมื่อเบาหวานคุมไม่ได้ น้ำตาลก็สูงขึ้น น้ำตาลที่สูงขึ้นเรื่อยๆทำให้เม็ดเลือดขาวทำงานแย่ลง ทำให้ ไวรัสโควิด19 เข้าไปทำลาย Tcells (ทีเซลล์)ของเม็ดเลือดขาวได้ง่ายขึ้น ซึ่ง Tcells ทำหน้าที่แจ้งเตือน และ ชี้นำให้เซลตัวอื่นๆของเม็ดเลือดขาวรับทราบว่ามีเชื้อแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกาย และ ไปทำลายเชื้อโรค แต่หาก T cells ถูกทำลายร่างกายก็จะมีปัญหาเกี่ยวกับสร้างภูมิคุ้มกันขึ้น ต่อสู้กับเชื้อโรค จนส่งผลกระทบต่อการสร้างภูมิคุ้มกันโดยรวม

งานวิจัยชิ้นนี้ อาจตอบปัญหาได้ว่า ทำไมเชื้อไวรัสโควิดจึงแพร่กระจายได้รวดเร็ว และ ผู้ที่ป่วยและหายดีแล้วจึงกลับไปติดเชื้อซ้ำ ซึ่งเป็นเพราะ T cells ถูกทำลายไปนั่นเอง ส่วนการป้องกันก็ทำได้ยากกว่าการป้องกันเชื้อ HIV เนื่องจากไวรัสโควิด 19 เป็นโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ

อย่างไรก็ตาม ผู้เชี่ยวชาญแนะนำให้ทุกคนเสริมสร้าง หรือ NK Cell  (Natural Killer Cell) ซึ่งเป็นเม็ดเลือดขาวชนิดหนึ่งในร่างกาย ตรวจพบประมาณ 15% ของจำนวนเม็ดเลือดขาว มีหน้าที่หลักๆมีไว้จัดการกับเซลล์ที่ติดเชื้อไวรัส แบคทีเรีย และ เซลล์มะเร็ง เสมือนด่านแรกในการปกป้องร่างกายจากเชื้อโรค ซึ่งมีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อไวรัสได้ดีกว่าเซลล์เม็ดเลือดขาวทั่วไป 

ดังนั้นจึงควรเสริมภูมิต้านทานให้แก่ NK Cell  คือ

  • การรับประทานอาหารครบหมู่ 
  • ออกกำลังกายสม่ำเสมอพักผ่อนให้เพียงพอ
  • รับประทานอาหารที่มีผลต่อ NK Cell ได้แก่ อาหารที่มีเบต้าแคโรตีน วิตามินซี วิตามินอี อาหารจำพวกเห็ด รวมทั้งรับประทานอาหารเสริมที่มีผลต่อการเพิ่มภูมิคุ้มกัน ได้แก่ พูลคาว, บลูเบอร์รี, เห็ดไมตาเกะ, เห็ดหลินจือ, กระเทียม ,ถั่งเช่า, สารสกัดจากรำข้าว และ ธัญพืชหลายชนิด
  • ปล่อยวางความเครียดและคอยหมั่นสังเกตร่างกายตัวเอง
  • เพิ่มภูมิคุ้มกัน ด้วยวิธีภูมิคุ้มกันบำบัด

Credit : TNN

POW Zukar Q พาวซูการ์คิว

กลุ่มโรค NCDs เป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหาร การดื่มแอลกฮอล์ การสูบบุหรี่ การไม่ออกกำลังกาย การนอนดึก มีภาวะความเครียดสูง  ตัวอย่างของโรค NCDs ได้แก่ โรคไขมันในเลือดสูง โรคความดันสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ  โรคห...

ดูรายละเอียด

เบาหวาน

บทความน่ารู้

เบต้ากูลแคนจากยีสต์ มีดีอย่างไร

เบต้ากูลแคนจากยีสต์ จะพบได้ในเห็ด ยีสต์สุรา และยีสต์ขนมปัง หรือพูดง่ายๆก็คือ ยีสต์เบต้ากูลแคน เป็นเบต้ากูลแคนที่สกัดจากยีสต์นั่นเอง  มีผลการศึกษาจากหลายชิ้นงาน พบว่า ยีสต์เบต้ากลูแคน มีประสิทธิภาพช่วยฟื้นฟูการทำงานของภูมิคุ้มกันให้ดีขึ้นได้ และม...

อ่านต่อ

ซินไบโอติก ดูแลลำไส้

ซินไบโอติก คือโปรไบโอติกสูตรที่ผสานเข้ากับพรีไบโอติก เพื่อเสริมการทำงานในการดูแลลำไส้ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารสูตรซินไบโอติก ต้องมีส่วนประกอบของทั้งโปรไบโอติกและพรีไบโอติก และควรระวังไม่ควรเลือกผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของยาถ่าย เพราะจะทำให้การขับถ่ายไม่ปกติ...

อ่านต่อ

LU7 คุมน้ำตาลเบาหวานได้จริงมั้ย

แอลยูเซเว่น  คือ ส่วนผสมของสมุนไพรที่มีงานวิจัย ปลูกด้วยระบบเกษตรอินทรีย์ ใส่ใจขั้นตอนการปลูก และ การเก็บเกี่ยว มีการควบคุมกระบวนการผลิตตามมาตราฐานระดับโลก โรงงานผลิตได้ตรา USDA/ HACCP/ OneCert /EU Organic / GMP    สมุนไพรส่วนประกอบใน...

อ่านต่อ

เบาหวาน ในช่วงโควิด 19

แนะวิธีดูแลตนเองสำหรับผู้เป็นเบาหวาน ในช่วงระบาดของโควิด-19 ในช่วงที่เชื้อไวรัส โควิด-19 ยังไม่หมดไป ผู้ที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรังอย่างเช่นโรคเบาหวาน ถือเป็นกลุ่มเสี่ยงที่ต้องระวังตัวเองมากเป็นพิเศษ เพราะถ้าติดเชื้อแล้วจะมีอาการหรือภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงก...

อ่านต่อ

ยาเบาหวาน ชนิดรับประทาน

ยาลดระดับน้ำตาล หรือ ยาเบาหวานชนิดรับประทาน ยาเบาหวาน ชนิดรับประทานใช้สำหรับผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 เท่านั้น ไม่สามารถใช้ในเบาหวานชนิดที่ 1 ซึ่งจำเป็นต้องฉีดอินซูลิน ยาชนิดรับประทานมีหลายชนิด ซึ่งออกฤทธิ์แตกต่างกันไปยาที่แพทย์มักให้กับผู้ป่วยเบาหวานเ...

อ่านต่อ