ผู้สูงวัย ดื่มนมอย่างไรให้สุขภาพดี

ผู้สูงอายุ มีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย และสรีระ ส่งผลต่อทั้งการดำเนินชีวิต และการรับประทานอาหาร หนึ่งในโรคที่มักจะพบในผู้สูงอายุคือ โรคกระดูกพรุน เป็นภาวะที่กระดูกมีความเปราะบาง ทำให้หักได้ง่าย เพราะการดูดซึมแคลเซียมของผู้สูงอายุนั้นลดลง นอกจากอาหารที่กินแต่ละมือแล้ว การดื่มนม ก็จะช่วยเสริมสร้างแคลเซียมให้กับร่างกาย

ผู้สูงอายุควรดื่มนมวันละ 1 แก้ว หลังมื้ออาหาร หลีกเลี่ยงการดื่มนมในขณะที่ท้องว่าง

ผู้สูงอายุควรดื่มนมวันละ 1 แก้ว หลังมื้ออาหาร หลีกเลี่ยงการดื่มนมในขณะที่ท้องว่าง เพราะจะทำให้ผู้สูงอายุเกิดภาวะท้องอืดได้ หากมีภาวะแพ้น้ำตาลแล็กโทส ต้องเลี่ยงนมวัว อาจหานมประเภทอื่น ๆ เช่น นมจากถั่ว หรือ ข้าว นอกจากนี้ควรรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมเพิ่มเติม เช่น ปลาก้างกรอบ เมล็ดงา เต้าหู้ บรอกโคลี เป็นต้น

POW Zukar Q พาวซูการ์คิว

กลุ่มโรค NCDs เป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหาร การดื่มแอลกฮอล์ การสูบบุหรี่ การไม่ออกกำลังกาย การนอนดึก มีภาวะความเครียดสูง  ตัวอย่างของโรค NCDs ได้แก่ โรคไขมันในเลือดสูง โรคความดันสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ  โรคห...

ดูรายละเอียด

เบาหวาน

บทความน่ารู้

ไตเรื้อรังจากเบาหวาน

ไตเรื้อรังจากเบาหวาน อันตรายที่อาจเกิดขึ้น และวิธีดูแลที่แตกต่างจาก โรคไต และ เบาหวาน อื่นๆ เบาหวาน เป็นโรคที่พบบ่อยในคนไทย และเป็นสาเหตุสำคัญอันดับหนึ่งที่ส่งผลให้เกิดภาวะไตเรื้อรัง เนื่องจากโรคเบาหวานจะมีน้ำตาลในเลือดสูง ทำให้เกิดเซลล์บริเวณไต ในระ...

อ่านต่อ

ค่าน้ำตาลสะสม

ค่าน้ำตาลสะสมของคุณเท่าไร? ถ้าตอบไม่ได้ ถ้าไม่รู้ บอกเลยว่า เบาหวานที่เป็นอยู่ หายยากแน่นอน บทความนี้บอกว่าค่านี้สำคัญยังไงผู้ป่วยเบาหวาน ควรตรวจหาค่าน้ำตาลสะสม ทุกๆ 3เดือนการตรวจหาค่าน้ำตาลสะสม ส่วนใหญ่จะใช้เลือดจากเส้นเลือดที่แขน ซึ่งส่วนใหญ่หมอจะต...

อ่านต่อ

การวิ่งเปลี่ยนร่างกาย และ จิตใจ

การวิ่งเปลี่ยนร่างกายและจิตใจได้อย่างไร ไว้ดังนี้สุขใจ การวิ่งกระตุ้นให้สมองหลั่งสารเอ็นโดรฟิน สารเคมีธรรมชาติ ซึ่งมีฤทธิ์บรรเทาอาการปวด และทำให้รู้สึกสุขสบายสมองดี นักวิจัยจากฟินแลนด์พบว่า หนูทดลองที่วิ่งเก่ง มีผลทดสอบด้านการเรียนรู้สูง และนักวิจัย...

อ่านต่อ

9 อาการ เตือน โรคเบาหวาน

กว่าจะรู้ตัว ก็เป็นเบาหวานเสียแล้ว สังเกตตัวเองว่าเข้าข่ายไปแล้วกี่ข้อ 9 อาการเตือน โรคเบาหวาน ดังนี้ ปัสสาวะบ่อยผิดปกติ คอแห้งกระหายน้ำ หิวบ่อยกินจุกว่าเดิม ผิวหนังแห้งและคัน เป็นแผลแต่หายช้ากว่าปกติ อ่อนเพลียไม่มีแรง มีอาการตาพล่ามัวมองไม่ชัดเป็นช่...

อ่านต่อ

ยาเบาหวาน ชนิดรับประทาน

ยาลดระดับน้ำตาล หรือ ยาเบาหวานชนิดรับประทาน ยาเบาหวาน ชนิดรับประทานใช้สำหรับผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 เท่านั้น ไม่สามารถใช้ในเบาหวานชนิดที่ 1 ซึ่งจำเป็นต้องฉีดอินซูลิน ยาชนิดรับประทานมีหลายชนิด ซึ่งออกฤทธิ์แตกต่างกันไปยาที่แพทย์มักให้กับผู้ป่วยเบาหวานเ...

อ่านต่อ