การดูแลเท้า ที่คนเป็นเบาหวาน
การดูแลระวังรักษาเท้าเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน เนื่องจากมีความเสี่ยงที่จะเกิดแผลเรื้อรังหรือติดเชื้อรุนแรงมากกว่าคนปกติ และถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ดีพออาจลุกลามถึงขั้นต้องเสียนิ้วหรือเสียขาได้ ดังนั้นผู้ป่วยเบาหวานจึงควรดูแลเท้าให้ดี เพื่อป้องกันไม่ให้มีแผลเกิดขึ้น ซึ่งสามารถทำได้ดังนี้
- หมั่นสำรวจเท้าทุกวันว่ามีแผล รอยบวมแดง ตุ่มน้ำใส หรือสีของเล็บล้างเท้าให้สะอาดทุกวันด้วยสบู่อ่อนๆ หรือน้ำธรรมดา และเช็ดเท้า ซอกนิ้วให้แห้ง อย่าถูแรงทาน้ำมันวาสลินหรือโลชั่น ให้ผิวหนังนุ่มป้องกันผิวแห้งคัน
- ใส่รองเท้าตลอดเวลาทั้งในและนอกบ้าน ระวังเหยียบของมีคม หนาม หรือของร้อน
- ใส่รองเท้าขนาดพอดีไม่คับหรือหลวมเกินไป นิ่ม สบาย
- ตรวจดูสิ่งแปลกปลอมในรองเท้าก่อนใส่ และใส่ถุงเท้าทุกครั้งเวลาตัดเล็บเท้า ควรตัดตรงๆ ระวังไม่ให้ถูกเนื้อถ้าเท้าชื้นมีเหงื่อออกต้องเช็ดให้แห้งเสมอ
- บริหารเท้าทุกวันด้วยการแกว่งเท้าไปมา เพื่อให้เลือดไหลเวียนไปที่เท้าดีขึ้น
- หากเกิดแผล ให้ทำความสะอาดแผลด้วยน้ำเกลือล้างแผล หากเกิดการอักเสบให้รีบไปพบแพทย์ทันที
ทำความเข้าใจโรคแผลเบาหวานที่เท้าและวิธีการรักษาโดยไม่ต้องตัดเท้า
เพียงเท่านี้ก็จะช่วยให้ผู้ป่วยเบาหวานมีสุขภาพเท้าที่ดี ลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่จะทำให้เกิดแผลที่เท้าและไม่ลุกลามจนต้องถูกตัดขา
POW พาว น้ำสมุนไพรพลูคาว ขนาด 375 ml พาวเอสเซ้นส์
พาวน้ำขนาดใหม่ 375 ml. พกพาสะดวกพาวน้ำ หรือ พาวซุยยากุเอสเซ้นส์ พาวขวดเล็ก พกพาสะดวก และเหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการทดลองทาน อัดแน่นด้วยส่วนผสมสมุนไพรที่มีประโยชน์เหมือนเดิม ประกอบด้วยสมุนไพรทั้งหมด 11 ชนิด ได้แก่ พลูคาว ใบมะรุม ลูกยอ กระชายดำ ตังก...
ดูรายละเอียดเบาหวาน
Insulin resistance การดื้ออินซูลิน
Insulin resistance การดื้ออินซูลิน คือ ในเซลกระบวนการเผาผลาญกลูโคสและกรดไขมันเป็นอะไรที่ตรงกันข้ามกัน ระหว่างเผาน้ำตาล เซลจะเก็บไขมัน ระหว่างเผาไขมัน เซลจะเบรคการเผาน้ำตาล ปกติถ้าเซลไม่สะสมไขมันมาก ร่างกายจะสลับการใช้พลังงานอย่างเหมาะสม แต่ถ้าเซลถูก...
อ่านต่ออาหารที่ไม่หวาน แต่ เสี่ยงเบาหวาน
หลายคนอาจจะทราบกันดีอยู่แล้วว่า ทานหวานมากๆ เสี่ยงต่อการเป็น "โรคเบาหวาน" แต่เชื่อหรือไม่ว่า ไม่เพียงแต่น้ำตาล และอาหารรสหวานจัดเท่านั้นที่จะทำให้เราเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน เพราะยังมีอาหารอีกหลายอย่างที่หากทานในปริมาณที่มากเกินไป ก็เสี่ยงต่อโรคเบาหวานได้...
อ่านต่อยาเบาหวาน ชนิดรับประทาน
ยาลดระดับน้ำตาล หรือ ยาเบาหวานชนิดรับประทาน ยาเบาหวาน ชนิดรับประทานใช้สำหรับผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 เท่านั้น ไม่สามารถใช้ในเบาหวานชนิดที่ 1 ซึ่งจำเป็นต้องฉีดอินซูลิน ยาชนิดรับประทานมีหลายชนิด ซึ่งออกฤทธิ์แตกต่างกันไปยาที่แพทย์มักให้กับผู้ป่วยเบาหวานเ...
อ่านต่อคุมเบาหวานที่ดี คือคุมให้ดีตลอด
คุณหมอแนะนำวิธี การคุมเบาหวาน การทานอาหาร เพื่อคุมน้ำตาลเบาหวาน ควรทานอย่างไร ทานแบบไหน ที่จะคุมน้ำตาลให้ดีตลอดเป้าหมายของผู้ที่มีน้ำตาลในเลือดสูง เบาหวาน และทานยารักษาอาการอยู่คือ ต้องการลดปริมาณยาที่ทานลง และคุมน้ำตาลได้ดี...
อ่านต่อกาแฟชะลอวัย แต่ต้องใช้ให้ถูก
กาแฟเป็นเครื่องดื่มประจำของใครหลายคน แต่ก็มีไม่น้อยที่กังวลว่าถ้าดื่มในปริมาณมากไปก็จะผลกระทบต่อร่างกาย จึงอยากให้รู้ถึงฤทธิ์ของ “คาเฟอีน” ที่เกินไปจะทำให้มีผลต่อร่างกายเราคือ ปวดหัว มึนศีรษะ ใจสั่น นอนไม่หลับ กระวนกระวาย ท้องเสีย สำหรับอาการที่ควรพบ...
อ่านต่อ