4 โรคร้ายจากการกิน ที่ไม่เหมาะสม
พฤติกรรมการรับประทานอาหารส่งผลต่อระบบการทำงานของร่างกายมากกว่าที่คุณคิด แต่การเลือกประเภทอาหาร ก็อาจส่งผลให้ร่างกายทำงานได้เป็นอย่างดี หรืออาจจะเป็นการเพิ่มความเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคร้ายได้โดยไม่รู้ตัวข้อมูลจาก อ.พญ.พรจิรา ศุภราศรี โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย พฤติกรรมการกินอาหารของคุณกำลังทำให้ร่างกายเสี่ยงต่อการเป็นโรคต่างๆ อยู่หรือไม่
โรคหลอดเลือดสมอง และหัวใจ
กินอาหารที่มีไขมัน น้ำตาล และเกลือปริมาณสูง ดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำ
โรคเบาหวาน
กินอาหารรสจัด หวานจัด เค็มจัด หรือไขมันสูงดื่มแอลกอฮอล์ หรือเครื่องดื่มชูกำลัง โรคความดันโลหิตสูง
โรคอ้วนลงพุง
กินอาหารปริมาณมากเกินความต้องการของร่างกาย กินขนมเบเกอรี่เป็นประจำ ดื่มเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูงเป็นประจำ
โรคมะเร็ง
กินอาหารปิ้งย่าง หรืออาหารรมควันเป็นประจำ (สารก่อมะเร็งเกิดจากควันจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ เมื่อน้ำมันหยดลงเตาย่าง) กินอาหารแปรรูป อาหารสำเร็จรูป ของหมักดองเป็นประจำกินของทอดน้ำมันซ้ำ
ดังนั้นเรา จึงควรหลีกเลี่ยงพฤติกรรมการรับประทานเหล่านี้ เน้นผักผลไม้สด เนื้อขาว เช่น ไก่ (ลอกหนัง) ปลา ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ก็จะช่วยให้เรามีสุขภาพที่ดี ลดเสี่ยงโรคร้ายต่างๆ ได้
ขอขอบคุณ
ข้อมูล :อ.พญ.พรจิรา ศุภราศรี โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
POW DERLA พาวเดอร์ล่า
พาวเดอร์ล่า POWDERLA พาวรูปแบบใหม่ พาวผงชงดื่ม ได้ประโยชน์ อร่อย ชงง่าย โดยมีพลูคาวเป็นส่วนผสมหลัก นอกจากนี้ยังประกอบไปด้วย ขิง กระชายขาว ตรีผลา (สมอไทย มะขามป้อม สมอพิเภก) ใบหม่อน ชะเอมเทศ เก๊กฮวย เจียวกู้หลาน แป๊ะก๊วย ใบบัวบก งาดำ สารสกัด...
ดูรายละเอียดเบาหวาน
พฤติกรรมเนือยนิ่ง
พฤติกรรมเนือยนิ่ง (Sedentary Behavior) คำศัพท์ซึ่งมาพร้อมกับการใช้ชีวิตที่สะดวกและรวดเร็วจนขาดการเคลื่อนไหวร่างกาย ปรากฏและเกิดขึ้นได้กับทุกช่วงวัยในครอบครัวตั้งแต่วัยเด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ หรือแม้กระทั่งผู้สูงอายุ โดยพฤติกรรมดังกล่าวนี้เอง เป็นบ่อเกิ...
อ่านต่อการเดินเร็ว ลดความดันได้
การเดินเร็วๆ หรือ Brisk Walk ช่วยลดความดันได้ดีพอๆ กับการวิ่ง การออกกำลังกายเป็นปัจจัยสำคัญของการควบคุมความดัน หลายคนสงสัยว่าการเดินเร็วจะสามารถลดความดันได้เท่ากับการวิ่งจริงหรือ?การเดินเร็ว 10-12 นาทีต่อกิโลเมตร หรือนับง่ายๆ คือ 100 ก้าวต่อนาที หรื...
อ่านต่อความเครียด ลำไส้ สัมพันธ์กัน
เคยสงสัยกันไหมว่า ทำไมเวลาเครียดมากๆ เราถึงรู้สึกปวดท้อง กระอักกระอ่วน อาการเหล่านี้เกี่ยวข้องกับลำไส้อย่างไร และ มีวิธีแก้อย่างไรได้บ้าง ลำไส้นั้นก็เหมือนสมองอันที่สองของร่ายกาย เพราะลำไส้มีสาร Serotonin (เซโรโทนิน) คือสารที่ส่งผลต่ออารมณ์ความรู้สึก...
อ่านต่อจากผลงานวิจัย สู่ผลิตภัณฑ์ พาว ซูการ์คิว
จากผลงานวิจัยสู่ผลิตภัณฑ์ พาวซูการ์คิว (POW ZUKAR Q) สถาบันนวัตกรรม และ ถ่ายทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยพะเยา ได้ดำเนินงานอุทยานวิทยาศาสตร์โดยมีวัตถุประสงค์ที่สำคัญคือการสร้างความเข้มแข็งด้านการวิจัยและนวัตกรรมและนำองค์ความรู้และนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยไป...
อ่านต่อสมุนไพรเบาหวาน กับ โรคไต
เบาหวานเป็นโรคที่ต้องทานยาต่อเนื่องเป็นปีๆ ถ้าคุมไม่ดีก็มีแนวโน้มต้องทานยาไปตลอดชีวิต ซึ่งค่าไตก็จะค่อยๆ เสื่อมลงไปคงปฏิเสธไม่ได้ว่า หากต้องกินยาเคมีต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานๆ โรคที่คนกลัวจะเป็นมากที่สุด คือ โรคไต โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนที่เป็นโรคเบาหวานจ...
อ่านต่อ