พืชผักผลไม้ ป้องกันCOVID19

พืชผักผลไม้ ป้องกันCOVID19 #1

พืชผักสมุนไพร 3 กลุ่มที่แนะนำให้บริโภคในช่วง Covic-19 ระบาด

1.กลุ่มที่มีฤทธิ์กระตุ้นภูมิคุ้มกัน  คือ พืชผักจำพวก พลูคาวหรือผักคาวตอง เห็ดต่างๆ เช่น เห็ดนางฟ้า เห็ดหูหนู เห็ดหอม เห็ดออริจิ เห็ดหลินจือ (มีสารเบต้ากลูแคนช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกัน) ตรีผลา (สมอไทย สอมพิเภก มะขามป้อม) อื่นๆ เช่น ชิง ข่า กระเทียม

พืชผักผลไม้ ป้องกันCOVID19 #2

2.กลุ่มที่มีวิตามินซี และสารต้านอนุมูลอิสระสูง สารกลุ่มโพลีฟีนอล, ไบโอเฟลโวนอยด์ กลุ่มแอนโทไซยานิน

    2.1ผักผลไม้และผักพื้นบ้านที่มีวิตามินซีสูง ช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกันต้านติดการเชื้อไวรัส เช่น ดอกขี้เหล็ก ยอดมะยม ใบเหลียง ฟักข้าว คะน้ำ ผักหวาน พริมชี้ฟ้าเขียว ฝักมะรุม ยอดสะเดา มะระขี้นก ผักเชียงดา ผักแพว

พืชผักผลไม้ ป้องกันCOVID19 #3

    2.2 ผลไม้ที่มีวิตามินซีและสารกลุ่มไบโอเฟลโวนอยด์สูง ได้แก่

พืชผักผลไม้ ป้องกันCOVID19 #5

มะขามป้อม มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระได้ดีกว่าวิตามินซีสังเคราะห์ถึง 12 เท่า  รสเปรี้ยวในมะขามป้อมยังมีฤทะฺกัดเสมหะ บรรเทาหวัด และแก้ไอได้ดี

พืชผักผลไม้ ป้องกันCOVID19 #4

ผลไม้หลากสี ผลไม้ที่มีสีเหลือง ส้ม แดง ม่วง ประกอบด้วยสารสำคัญแอนโทไซยานิน มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ต้านการอักเสบ กระตุ้นภูมิคุ้มกัน และเป็นสารที่ช่วยให้วิตามินซีสามารถออกฤทธิ์กระตุ้นภูมิคุ้มกันได้ดีขึ้น

3.กลุ่มที่ว่ามีงานวิจัยเบื้องต้นว่ามีสารสำคัญที่อาจช่วยลดโอกาสติดเชื้อ COVID-1

    3.1 ผักผลไม้ที่มีสารเคอร์ซีติน (quercetin)สูง ได้แก่ พลูคาวหรือผักคาวตอง หอมแดง หอมหัวใหญ่ มะรุม แอปเปิ้ล ใบหม่อน

    3.2 ผักผลไม้ที่มีสารเฮสเพอริดิน (hesperidin) และรูติน (rutin)สูง ได้แก่ ผิวและเยื่อหุ้มด้านในเปลือกผลไม้ของพืชตระกูลส้ม (citrus fruit เช่น ส้ม มะนาว มะกรูด ส้มซ่า)

    3.3 ผักที่มีสารโอเรียนทิน (Orientin) เช่น กะเพรา

    3.4 อื่นๆ เช่น ธัญพืชมี lignan

พืชผักผลไม้ ป้องกันCOVID19 #6


เครดิตข้อมูลจาก: ศูนย์ข้อมูลยาสมุนไพรฯ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข


POW พาวเมาท์สเปรย์

POW HerbalFresh Mouth Spray สเปรย์น้ำพลูคาวสกัด สำหรับฉีดพ่นในช่องปากและลำคอ ส่วนผสมจากสมุนไพรเดิมได้แก่ น้ำพลูคาวสกัด สเปียร์มินท์ เปปเปอร์มินต์  น้ำผึ้ง โพรพอลิส และน้ำมันละหุง ช่วยลดปัญหาในช่องปาก กลิ่นปาก ไอ ระคายเคืองในลำคอ ให้ความรู้สึกเย็นสดช...

ดูรายละเอียด

สุขภาพชาย

บทความน่ารู้

กินเยอะ แต่ ผอม อย่าชะล่าใจ

การตรวจเช็คความเสี่ยงโรคไทรอยด์ ทำได้โดยสังเกตอาการของตนเอง หากมีลักษณะดังกล่าว ควรพบแพทย์เพื่อตรวจร่างกาย คุณเป็นคนหนึ่งที่ กิน...กินเยอะมาก ตรงกันข้ามกับผอมลง น้ำหนักลดหรือไม่?? ลองกลับมาสังเกตุตนเองว่ามีอาการเหล่านี้มั้ยใจสั่น มือสั่น ตื่นเต้น ตก...

อ่านต่อ

บลูสเปียร่า สารสกัดจากสาหร่ายสไปรูลิน่า

สารสกัด Blue Spira (บลูสเปียร่า) ส่วนผสมหลักใน พาวซูการ์คิว ผลงานวิจัยจากมหาวิทยาลัยพะเยา ซึ่งพบว่ามีสารต้านอนุมูลอิสระ ไฟโคไซยานินสูงกว่าปกติ ไม่มีผลกับไต คณะวิจัยของมหาวิทยาลัยพะเยา การเพาะเลี้ยงสาหร่ายสไปรูลิน่า สายพันธ์ Platensis ด้วยกรรมวิธีพิ...

อ่านต่อ

ไม่ต้องพึ่งยาเคมี อาการปวดเข่าก็บรรเทาลงได้

คุณแม่แววตา อุบลรัตน์ อายุ 67 ปี อาชีพเกษตรกรรมปลูกดอกปทุมมา ในชีวิตประจำวันต้องเดินเยอะทำให้มีอาการปวดเข่าไปหาหมอ หมอให้ทานยาอาการก็หายไป เมื่อกลับมาทำงานเดินเยอะอาการปวดก็มาอีก   แต่หลังจากที่ได้รู้จักและรับประทาน "คอลลาเจน เคราติน วันทูเ...

อ่านต่อ

ออกกำลังกาย ช่วงเวลาไหนดี

เช้า สาย บ่าย เย็น ช่วงไหนควรออกกำลังกายมากที่สุด ช่วงเวลาในการออกกำลังกายส่งผลต่อประสิทธิภาพในการออกกำลังกายของเราหรือไม่?ออกกำลังกายตอนกลางวัน หรือ ตอนกลางคืนจากรายงานการศึกษาล่าสุดพบว่า ช่วงเวลาในการออกกำลังกาย ส่งผลต่อระบบการเผาผลาญพลังงานหรือไม่...

อ่านต่อ

ใครที่เสี่ยงเป็นโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง

ใครที่เสี่ยงเป็นโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง?แม้ว่าโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง โรคพุ่มพวง เอสแอลอี หรือลูปัส จะไม่ได้พบกันบ่อยๆ แต่ก็พบได้เรื่อยๆ พบได้ตั้งแต่เด็กไปจนถึงผู้สูงอายุ แม้ว่าจะหาสาเหตุที่แท้จริงไม่ได้ แต่ก็มีปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้ภูมิคุ้มกันทำงานผิด...

อ่านต่อ