ประโยชน์ กระชายขาว

ประโยชน์ กระชายขาว #1

กระชาย ภาษาอังกฤษใช้คำว่า Kaempfer แต่ชื่อวิทยาศาสตร์คือ Boesenbergia rotunda (L.) Mansf. เป็นพืชล้มลุกที่เรามักนิยมนำเหง้ามาใช้ประกอบอาหาร แต่กระชายมีสรรพคุณตั้งแต่รากถึงใบ

กระชายขาวสกัด เป็นยาต้านไวรัส โควิด-19 ได้ดี 100%

การใช้กระชายในวัตถุประสงค์ต้านโควิด-19 นั้นยังคงเป็นการศึกษาในห้องทดลอง โดยเลือกใช้สารสกัดจากกระชายขาว ซึ่งถูกนำมาสกัดใช้ในลักษณะของยา แต่หากนำมาใช้กินกันในอาหารทั่วไป จะมีสรรพคุณดังนี้

  • ใบกระชาย ใช้บำรุงธาตุ แก้โรคในปาก คอ ถอนพิษ แก้โลหิตเป็นพิษ
  • เหง้าและรากกระชาย แก้บิด ขับปัสสาวะ ใช้เป็นยารักษาภายนอกทารักษาขี้กลาก
  • เหง้าใต้ดินกระชาย แก้ปวดท้อง แก้มวนท้อง บำรุงกำลัง รักษาริดสีดวง

ประโยชน์ของกระชาย

กระชายที่ใช้เป็นวัตถุดิบประกอบอาหาร พ่อครัวแม่ครัวมักจะใช้กระชายดำ แต่กระชายส่วนใหญ่มีประโยชน์ได้ใกล้เคียงกัน ดังนี้

  • แก้ท้องร่วง - ใช้เหง้ากระชายดำ 1-2 หัว นำไปปิ้งไฟ แล้วนำมาตำหรือฝนผสมกับน้ำปูนใส คั้นมารับประทาน 1-2 ช้อนแกง
  • แก้ท้องอืด จุกเสียด ปวดมวนท้อง - ใช้ราก เหง้า ครึ่งกำมือ นำมาต้มเอาน้ำหรือใช้ปรุงอาหาร
  • แก้บิด - ใช้เหงาสด 2 เหง้าบดละเอียดผสมน้ำปูนใส คั้นแต่น้ำดื่ม
  • แก้ริดสีดวง - ใช้เหง้าสด 6-8 เหง้า ผสมเนื้อมะขามเปียก และเกลือแกง 3 ช้อนชา นำมาตำแล้วต้มกับน้ำ 6 แก้ว เคี่ยวจนเหลือ 2 แก้ว นำมารับประทานครั้งละครึ่งแก้วติดต่อกัน 1 เดือน จนกว่าริดสีดวงทวารจะหาย
  • บำรุงหัวใจ - ใช้เหง้าและรากกระชายปอกเปลือก ล้างน้ำให้สะอาด หั่นตากแห้ง บดเป็นผง นำผงแห้งมาชงน้ำร้อนครึ่งถ้วยชา ดื่มให้หมดในครั้งเดียว
  • เพิ่มสมรรถภาพทางเพศ - ส่วนสรรพคุณกระชายเพิ่มสมรรถภาพทางเพศ ตามที่แบรนด์อาหารเสริมต่างๆ แนะนำให้กินเวลาเย็น เพื่อช่วยลดอาการนอนไม่หลับตอนกลางคืนนั้น ยังต้องรอการศึกษาวิจัยต่อไป

นอกจากกระชายขาว และกระชายดำแล้ว ในตำราสมุนไพรไทยยังได้กล่าวถึงการใช้ กระชายเหลือง ในตำรับยาสำหรับผู้หญิง โดยใช้เพื่อบรรเทาอาการปวดประจำเดือน และแก้อาการตกขาวของผู้หญิงได้ ส่วนสรรพคุณของกระชายเหลืองอื่นๆ ก็มีฤทธิ์เช่นเดียวกับกระชายดำที่กล่าวมาข้างต้น

POW Zukar Q พาวซูการ์คิว

กลุ่มโรค NCDs เป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหาร การดื่มแอลกฮอล์ การสูบบุหรี่ การไม่ออกกำลังกาย การนอนดึก มีภาวะความเครียดสูง  ตัวอย่างของโรค NCDs ได้แก่ โรคไขมันในเลือดสูง โรคความดันสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ  โรคห...

ดูรายละเอียด

สุขภาพชาย

บทความน่ารู้

โปรตีนพาวอัพ ต่างจากโปรตีนทั่วไปอย่างไร

โปรตีน พาวอัพ มีโปรตีนที่สูงถึง 21 กรัม และเป็นโปรตีนที่ได้จากพืช ไม่ว่าจะเป็น เมล็ดฝักทอง ข้าว ถั่วเหลือง ถั่วลันเตาสีทอง และเมล็ดทานตะวัน และคัดสรรกลิ่นและรสชาติจากใบชาเขียวแท้ๆ  ที่มีส่วนช่วยในการเผาผลาญ ไม่แต่งกลิ่นและรสสังเคราะห์พาวอัพ POW...

อ่านต่อ

แช่บ่อน้ำร้อน ดีต่อนักวิ่ง

การแช่บ่อน้ำร้อน หรือ ออนเซ็น เมื่อฝ่าด่านความรู้สึกประหนึ่งอยู่ในหม้อต้มไข่ไปได้ ความสบายอย่างหาที่สุดมิได้ก็จะเกิดขึ้นตามมา ความจริงแล้วน้ำอุ่น หรือน้ำอุ่นที่ค่อนไปทางร้อนนี้มีประโยชน์ต่อนักวิ่งหลายประการมากทีเดียวหากเป็นไปได้ การแช่ออนเซ็น หรือบ่อ...

อ่านต่อ

ทำIF ยังไงให้สำเร็จ

 Intermittent Fasting (IF) หรือการอดอาหารเป็นช่วงๆ โดยการควบคุมแคลอรี่ เป็นวิธีการลดน้ำหนักที่นิยมกันมากในปัจจุบันสิ่งสำคัญในการทำIF สุขภาพต้องมาก่อนเสมอ ทำIFอย่างไรไม่ให้ร่างกายขาดสารอาหารพาวเดลี่ โปรตีนจากพืช 5 ชนิด มีสารอาหารครบ 5 หมู่ มีสาร...

อ่านต่อ

กลุ่มโรคไทรอยด์

5 กลุ่มของโรคต่อมไทรอยด์ต่อมไทรอยด์  คือต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่งของร่างกาย อยู่บริเวณคอหน้าหน้า ต่อมไทรอยด์มีหน้าที่สร้างไทรอยด์ฮอร์โมน โดยใช้ธาตุไอโอดีเป็นส่วนประกอบ จากนั้นจะปล่อยเข้าสู่กระแสเลือด ฮอร์โมนเหล่านี้มีหน้าที่กระตุ้นการเผาผลาญพลังานของเซลล์ท...

อ่านต่อ

ติดตามผลหลังทานซูการ์คิว 1 เดือน

ตลอดหลายปี ที่ผ่านมา พาว ได้จับมือทำงานวิจัยร่วมกับสถาบันต่างๆมากมาย ไม่ว่าจะเป็น มช. , นาโนเทค หรือ สวทช. เพื่อพัฒนา ยกระดับสมุนไพรไทย ให้อยู่ในจุดที่สูงสุด พาวซูการ์คิว พาวได้วิจัยกับ ม.พะเยา มาเป็นเวลาร่วม 2ปี โดยทดสอบจริงกับอาสาสมัครเป็นเวลา 12 ...

อ่านต่อ