ประโยชน์ กระชายขาว

ประโยชน์ กระชายขาว #1

กระชาย ภาษาอังกฤษใช้คำว่า Kaempfer แต่ชื่อวิทยาศาสตร์คือ Boesenbergia rotunda (L.) Mansf. เป็นพืชล้มลุกที่เรามักนิยมนำเหง้ามาใช้ประกอบอาหาร แต่กระชายมีสรรพคุณตั้งแต่รากถึงใบ

กระชายขาวสกัด เป็นยาต้านไวรัส โควิด-19 ได้ดี 100%

การใช้กระชายในวัตถุประสงค์ต้านโควิด-19 นั้นยังคงเป็นการศึกษาในห้องทดลอง โดยเลือกใช้สารสกัดจากกระชายขาว ซึ่งถูกนำมาสกัดใช้ในลักษณะของยา แต่หากนำมาใช้กินกันในอาหารทั่วไป จะมีสรรพคุณดังนี้

  • ใบกระชาย ใช้บำรุงธาตุ แก้โรคในปาก คอ ถอนพิษ แก้โลหิตเป็นพิษ
  • เหง้าและรากกระชาย แก้บิด ขับปัสสาวะ ใช้เป็นยารักษาภายนอกทารักษาขี้กลาก
  • เหง้าใต้ดินกระชาย แก้ปวดท้อง แก้มวนท้อง บำรุงกำลัง รักษาริดสีดวง

ประโยชน์ของกระชาย

กระชายที่ใช้เป็นวัตถุดิบประกอบอาหาร พ่อครัวแม่ครัวมักจะใช้กระชายดำ แต่กระชายส่วนใหญ่มีประโยชน์ได้ใกล้เคียงกัน ดังนี้

  • แก้ท้องร่วง - ใช้เหง้ากระชายดำ 1-2 หัว นำไปปิ้งไฟ แล้วนำมาตำหรือฝนผสมกับน้ำปูนใส คั้นมารับประทาน 1-2 ช้อนแกง
  • แก้ท้องอืด จุกเสียด ปวดมวนท้อง - ใช้ราก เหง้า ครึ่งกำมือ นำมาต้มเอาน้ำหรือใช้ปรุงอาหาร
  • แก้บิด - ใช้เหงาสด 2 เหง้าบดละเอียดผสมน้ำปูนใส คั้นแต่น้ำดื่ม
  • แก้ริดสีดวง - ใช้เหง้าสด 6-8 เหง้า ผสมเนื้อมะขามเปียก และเกลือแกง 3 ช้อนชา นำมาตำแล้วต้มกับน้ำ 6 แก้ว เคี่ยวจนเหลือ 2 แก้ว นำมารับประทานครั้งละครึ่งแก้วติดต่อกัน 1 เดือน จนกว่าริดสีดวงทวารจะหาย
  • บำรุงหัวใจ - ใช้เหง้าและรากกระชายปอกเปลือก ล้างน้ำให้สะอาด หั่นตากแห้ง บดเป็นผง นำผงแห้งมาชงน้ำร้อนครึ่งถ้วยชา ดื่มให้หมดในครั้งเดียว
  • เพิ่มสมรรถภาพทางเพศ - ส่วนสรรพคุณกระชายเพิ่มสมรรถภาพทางเพศ ตามที่แบรนด์อาหารเสริมต่างๆ แนะนำให้กินเวลาเย็น เพื่อช่วยลดอาการนอนไม่หลับตอนกลางคืนนั้น ยังต้องรอการศึกษาวิจัยต่อไป

นอกจากกระชายขาว และกระชายดำแล้ว ในตำราสมุนไพรไทยยังได้กล่าวถึงการใช้ กระชายเหลือง ในตำรับยาสำหรับผู้หญิง โดยใช้เพื่อบรรเทาอาการปวดประจำเดือน และแก้อาการตกขาวของผู้หญิงได้ ส่วนสรรพคุณของกระชายเหลืองอื่นๆ ก็มีฤทธิ์เช่นเดียวกับกระชายดำที่กล่าวมาข้างต้น

เคราติน คอลลาเจน ไตรเปปไทด์

Keratin collagen คลอลาเจนบริสุทธิ์100% เป็นชนิดไตรเปปไทด์ เคราตินคลอลาเจนนำเข้าจากประเทศเกาหลี คอลลาเจนไตรเปปไทด์ สกัดมาจากปลาน้ำจืด ผู้แพ้อาหารทะเลทานได้ ไม่มีกลิ่นคาว ไม่มีสารตกค้างเจือปน ร่างการสามารถดูดซึมได้รวดเร็วการรับประทาน : แนะนำทานตอนท้องว...

ดูรายละเอียด

สุขภาพชาย

บทความน่ารู้

ทำไมตัดสินใจเลือกพาว

ปัญหาสุขภาพมาแบบไม่เลือกอายุ ถึงแม้อายเพียง 37 ปี ความดันสูง ไขมันในเลือดสูง กรดไหลย้อน ชอบทานหวาน  สุขภาพไม่ค่อยดีตั้งแต่อายุยังน้อย ทุกอาการรุมเร้า ส่งผลถึงการใช้ชีวิตประจำวัน พากังวล...

อ่านต่อ

ถาม ตอบ ป้องกัน ตัวเอง ก่อนป่วย

กระแสที่เกิดขึ้นตอนนี้ หลายคนตื่นตระหนกและหวาดกลัว ไปจนถึงหวั่นใจ กับคำถามมากมายว่า เชื้อโรคและไวรัสน่ากลัวแค่ไหน ภูมิต้านทานหรือภูมิคุ้มกันสำคัญแค่ไหน และจะเสริมสร้างภูมิคุ้มกันได้อย่างไร มาไขข้อข้องใจเรื่องไวรัสกับภูมิต้านทานในร่างกายของเรากับ นพ....

อ่านต่อ

ข้อห้ามและข้อควรระวังในการทาน พลูคาว

พลูคาว หรือผักคาวตอง พืชสมุนไพรพื้นถิ่น นอกจากประโยชน์สรรพคุณที่เราทราบกันแล้ว ยังมีข้อห้าม ข้อควรระวังในการรับประทานเช่นเดียวกัน หากรับประทานพลูคาว "มากจนเกินไป" อาจทำให้เกิดผลข้างเคียง คือ พลูคาวมีฤทธิ์ทำให้หายใจสั้นและถี่ขึ้น อาจทำให้อาเจียน หรือห...

อ่านต่อ

ภาวะสมองเสื่อมเร็ว โรคซีเจดี

กรมการแพทย์เผยช่วงวัย 40-60 ปีขึ้นไป เสี่ยงภาวะสมองเสื่อมรุนแรงในเวลารวดเร็วจากการทำงานผิดปกติของโปรตีนพรีออนในสมอง นพ.สมศักดิ์อรรฆศิลป์ อธิบดีกรมการแพทย์ เปิดเผยว่า ประไทยมีแนวโน้มเป็นสังคมผู้สูงอายุมากขึ้น จะมีผู้ที่มีภาวะสมองเสื่อมมากถึง 6-8 แสนค...

อ่านต่อ

บลูสเปียร่า สาหร่ายสไปรุลินากับระดับไขมันในเลือด

เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2565 สถาบันนวัตกรรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยพะเยา ได้ทำพิธีส่งมอบเทคโนโลยีจากผลงานวิจัยโครงการ "ผลของการบริโภคสไปรุลิน่าต่อการทำงานของไตและระดับไขมันในเลือด"  โดยมีนักวิจัย คือ ดร.วิทวัส สัจจาพงศ์ คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ ...

อ่านต่อ