ใครที่เสี่ยงเป็นโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง

ใครที่เสี่ยงเป็นโรค<strong>แพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง</strong> #1

ใครที่เสี่ยงเป็นโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง?

แม้ว่าโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง โรคพุ่มพวง เอสแอลอี หรือลูปัส จะไม่ได้พบกันบ่อยๆ แต่ก็พบได้เรื่อยๆ พบได้ตั้งแต่เด็กไปจนถึงผู้สูงอายุ แม้ว่าจะหาสาเหตุที่แท้จริงไม่ได้ แต่ก็มีปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้ภูมิคุ้มกันทำงานผิดปกติอยู่หลายประการ ได้แก่

  • พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน เช่น การเปลี่ยนแปลงฮอร์โมนของเพศหญิงในช่วงตั้งครรภ์ หรือช่วงวัยที่กำลังเจริญเติบโต
  • ความผิดปกติจากพันธุกรรม (ชนิดที่ถ่ายทอดได้) การถ่ายทอดทางพันธุกรรมอาจส่งต่อลักษณะบางอย่างที่ทำให้มีโอกาสเป็นโรคได้ 
  • ติดเชื้อจากแบคทีเรีย หรือไวรัสบางชนิด
  • มีอาการแพ้กับสิ่งต่างๆ เช่น แสงแดด สำหรับคนที่มีผิวไวต่อแดด การสัมผัสแสงแดดอาจทำให้เกิดรอยโรค เป็นเหตุให้เกิดอาการต่าง ๆ ตามมาการวินิจฉัยโรคพุ่มพวง
  • สูบบุหรี่ และยาสูบต่าง ๆ
  • ผลข้างเคียงจากการใช้ยาบางชนิด เช่น ยาป้องกันการชัก ยาคุมกำเนิด ยาลดน้ำหนักบางชนิด  ยาปฏิชีวนะ และยากลุ่มควบคุมความดันโลหิต
  • เครียด ทำงานหนัก ออกกำลังกายมากเกินไป

ใครที่เสี่ยงเป็นโรค<strong>แพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง</strong> #2

การป้องกันโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง

โรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเองไม่มีวิธีป้องกันได้ 100% แต่ก็มีวิธีที่จะช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นโรคนี้ได้ด้วยการดูแลรักษาร่างกายของตัวเองให้แข็งแรงอยู่เสมอหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงที่อาจทำให้เกิดโรค รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ออกกำลังกายเป็นประจำ พักผ่อนให้เพียงพอ ไม่เครียดจนเกินไป ไม่สูบบุหรี่ ไม่ตากแดดที่ร้อนจ้าหรือเป็นเวลานาน และหลีกเลี่ยงสารเคมีเป็นพิษในชีวิตประจำวัน รักษาสุขอนามัยของตัวเองให้สะอาด ลดโอกาสในการติดเชื้อ และปรึกษาแพทย์ทุกครั้งก่อนทานยาอะไรเป็นประจำ

เคราติน คอลลาเจน ไตรเปปไทด์

Keratin collagen คลอลาเจนบริสุทธิ์100% เป็นชนิดไตรเปปไทด์ เคราตินคลอลาเจนนำเข้าจากประเทศเกาหลี คอลลาเจนไตรเปปไทด์ สกัดมาจากปลาน้ำจืด ผู้แพ้อาหารทะเลทานได้ ไม่มีกลิ่นคาว ไม่มีสารตกค้างเจือปน ร่างการสามารถดูดซึมได้รวดเร็วการรับประทาน : แนะนำทานตอนท้องว...

ดูรายละเอียด

สุขภาพหญิง

บทความน่ารู้

ข้อควรระวังในการรับประทานเบต้ากูลแคน

การรับประทานเบต้ากลูแคนค่อนข้างปลอดภัยต่อร่างกาย !!แต่เพราะยังไม่มีการวิจัยที่รับรองความปลอดภัยในระยะยาว จึงควรรับประทานในปริมาณที่เหมาะสม เพื่อความปลอดภัยและลดความเสี่ยงการเกิดผลข้างเคียง สำหรับผู้ที่อยู่ในภาวะต่อไปนี้ควรระมัดระวังในการบริโภคผลิตภัณ...

อ่านต่อ

COVID ยังออกกำลังกายได้แต่ต้องปรับตัว

คำแนะนำเรื่องการออกกำลังกาย ในสถานการณ์ Covid จากคุณหมอแอร์ แห่ง AVARIN เรากำลังเข้า​ Covid​ ระยะ​ 3 ต้องปรับตัวการออกกำลังกายยังไงการออกกำลังยังเป็นสิ่งที่ควรทำ​ เพราะสามารถเพิ่มภูมิต้านทานโรคไม่ออกกำลังกาย​แบบหนักเกินไป​ เพราะการออกกำลังกายที...

อ่านต่อ

ลำใส้ดี สุขภาพดี

เชื่อหรือไม่ว่าสุขภาพเราจะดีหรือไม่ดี ขึ้นอยู่กับลำไส้เป็นส่วนสำคัญ? ยิ่งลำไส้ของเรามีสุขภาพดีมากเท่าไหร่ ร่างกายเราก็ยิ่งมีสุขภาพดีตามไปด้วย เพราะลำไส้เป็นอวัยวะที่ใช้ในการดูดซึมสารอาหาร วิตามินและแร่ธาตุที่มีประโยชน์ หากร่างกายได้รับสารอาหารที่มีส...

อ่านต่อ

ไม่ควรกินมื้อดึก

การกินอาหารตั้งแต่ช่วง 22.00 น.เป็นต้นไป ไม่ใช่เรื่องที่ดีเลย หลายคนปฎิเสธไม่ได้เพราะ หน้าที่การงานแต่ละคนไม่เหมือนกันบางคนจำเป็นต้องกินดึกจริงๆ เพราะเป็นเวลาว่างของการทำงานช่วงกะดึก แต่สำหรับบางคนที่เวลาทำงานปกติ แต่กับติดกินมื้อดึกเกือบทุกวัน สาเห...

อ่านต่อ

ช่องคลอดแห้ง ป้องกันได้

การป้องกันภาวะช่องคลอดแห้งภาวะช่องคลอดแห้งเป็นภาวะที่เกิดขึ้นได้ตามธรรมชาติในวัยหมดประจำเดือน และบางครั้งอาจเกิดได้จากสาเหตุอื่นที่ส่งผลให้สภาวะภายในช่องคลอดเสียสมดุล แนวทางการป้องกันจึงเป็นการรับมือกับภาวะหมดประจำเดือนก่อนถึงช่วงเวลาและดูแลช่องคลอดใ...

อ่านต่อ