บลูสเปียร่า สาหร่ายสไปรุลินากับระดับไขมันในเลือด

เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2565 สถาบันนวัตกรรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยพะเยา ได้ทำพิธีส่งมอบเทคโนโลยีจากผลงานวิจัยโครงการ "ผลของการบริโภคสไปรุลิน่าต่อการทำงานของไตและระดับไขมันในเลือด"  โดยมีนักวิจัย คือ ดร.วิทวัส สัจจาพงศ์ คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัฐฏมิ พรหมณะ คณะพลังงานและสิ่งแวดล้อมและคณะ ร่วมกับ ภาคเอกชนที่ร่วมดำเนินโครงการวิจัย ได้แก่ บริษัท ซีเอ็มเอชเชียงใหม่ โฮลดิ้ง จำกัด และคู่ความร่วมมือคือ บริษัท พาว มิราเคิลจำกัด ซึ่งมีการพัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อจัดจำหน่ายในเชิงพาณิชย์ โดยบริษัท พาว มิราเคิลจำกัด ได้ทำการเปิดตัวผลิตภัณฑ์ พาวซูการ์คิว (POW ZUKAR Q) ในครั้งนี้

จากผลงานการวิจัยของนักวิจัยมหาวิทยาลัยพะเยา ในการเลี้ยงสาหร่ายสไปรุลินา สายพันธ์ Platensis ด้วยกรรมวิธีพิเศษ เอกสิทธิ์ Blue Spira (บลู สเปียร่า) จากการวิจัยพบว่า สาหร่ายสไปรุลิน่า มีสารต้านอนุมูลอิสระชนิด ไฟโคไซยานิน และสารโพลีแซคคาไรด์ ซึ่งจะกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว สามารถช่วยลดความเสี่ยงภูมิแพ้ ช่วยควบคุมระดับไขมันในเลือด ได้ทั้งไขมันโคเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์ ควบคุมความดันโลหิต โดยได้มีการนำมาทดสอบในอาสาสมัคร 36 คน (ข้อมูลการศึกษาของปี พ.ศ.2550) ที่ได้รับสไปรุลิน่า 9.5 กรัมต่อวัน เป็นเวลานานกว่า 6สัปดาห์ พบว่ามีความเปลี่ยนแปลงของระดับไขมันคอเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์ และความดันโลหิต ลดลง

และจากการวิจัยพบว่า "ผลของการบริโภคสไปรุลิน่าที่เลี้ยงด้วยกรรมวิธีพิเศษ BlueSpira ต่อการทำงานของไต และระดับไขมันในเลือด"  ในการทดลองจากอาสาสมัคร จำนวน 80 คน โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกบริโภคสไปรุลิน่า(กลุ่มทดสอบ) 40 คน  และกลุ่มบริโภคสไปรุลินาหลอก(กลุ่มควบคุม) 40 คน  พบว่า มีการต่อการลดไขมันในเลือดคือ Total cholesterolTriglycerides Low-Density Lipoprotein Cholesterol และเพิ่มระดับ High-Density LipoproteinCholesterol นอกจากนั้นไม่มีผลต่อการทำลายการทำงานของไต และสุขภาพ โดยสไปรุลินาได้รับการับรองว่า เป็นอาหารที่ปลอดภัยอีกด้วย

ที่มาข้อมูล : สถาบันนวัตกรรมถ่ายทอดเทคโนดลยี มหาวิทยาลัยพะเยา

POW Zukar Q พาวซูการ์คิว

กลุ่มโรค NCDs เป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหาร การดื่มแอลกฮอล์ การสูบบุหรี่ การไม่ออกกำลังกาย การนอนดึก มีภาวะความเครียดสูง  ตัวอย่างของโรค NCDs ได้แก่ โรคไขมันในเลือดสูง โรคความดันสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ  โรคห...

ดูรายละเอียด

สุขภาพหญิง

บทความน่ารู้

ลำไส้ดี ชีวิตยืนยาว

สุขภาพยังดีอยู่ไหม ให้ดูลึกถึงลำไส้ เพราะ 70% ของภูมิคุ้มกันอยู่ในนั้น หลายคนอาจยังไม่รู้ว่า ลำไส้ไม่ได้เป็นเพียงอวัยวะย่อยอาหาร แต่ยังเป็นบ้านของภูมิคุ้มกันหลังใหญ่ที่สุด หากสมดุลของลำไส้สะดุด จุลินทรีย์ดีในลำไส้ก็จะลดน้อยลง ส่งให้ภูมิคุ้มกันอ่อนแอ...

อ่านต่อ

ทำไม คนติดเชื้อโควิด ไม่ป่วยหมดทุกคน

ความสามารถในการติดเชื้อ ของไวรัสทั่วไป รวมถึงเจ้าโควิด19 เชื้อร้ายที่ไม่กระจอกขึ้นอยู่กับ 3 ปัจจัยนี้ความแข็งแรงของเชื้อเมื่อไวรัสถูกทำให้อ่อนแอลง โครงสร้างชั้นไขมันถูกทำลาย หรือถูกลดความสามารถในการแบ่งตัว ทำให้การติดเชื้อไวรัสเป็นไปได้ยากขึ้น ลดการเ...

อ่านต่อ

ปวดหลังแบบไหน อันตรายจนต้องพบแพทย์

โดยปกติเราแบ่งอาการปวดหลัง เป็น 2 แบบ ปวดเฉียบพลัน (Acute: ปวดหลังต่อเนื่องน้อยกว่า 6 สัปดาห์) กึ่งเฉียบพลัน (Subacute: ปวดหลังต่อเนื่อง 6-12 สัปดาห์)ปวดเรื้อรัง (Chronic: ปวดหลังต่อเนื่องนานกว่า 12 สัปดาห์) ในประเทศอุตสาหกรรม ความชุกชั่วชีวิต (...

อ่านต่อ

ไม่ออกกำลังกาย เสี่ยงกว่า ผู้ป่วยเบาหวาน

เราทราบกันดีว่า การออกกำลังกายช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้นได้ การไม่ออกกำลังกาย อาจให้ผลร้ายมากกว่าการสูบบุหรี่ หรือเป็นโรคเบาหวาน และ โรคหัวใจเสียอีกการวิจัยเรื่องผลของการ ไม่ออกกำลังกาย จัดทำขึ้นโดยนักวิจัยที่โรงพยาบาล Cleveland Clinic ในรัฐโอไฮโอ โดยใช้...

อ่านต่อ

แช่บ่อน้ำร้อน ดีต่อนักวิ่ง

การแช่บ่อน้ำร้อน หรือ ออนเซ็น เมื่อฝ่าด่านความรู้สึกประหนึ่งอยู่ในหม้อต้มไข่ไปได้ ความสบายอย่างหาที่สุดมิได้ก็จะเกิดขึ้นตามมา ความจริงแล้วน้ำอุ่น หรือน้ำอุ่นที่ค่อนไปทางร้อนนี้มีประโยชน์ต่อนักวิ่งหลายประการมากทีเดียวหากเป็นไปได้ การแช่ออนเซ็น หรือบ่อ...

อ่านต่อ