บลูสเปียร่า สาหร่ายสไปรุลินากับระดับไขมันในเลือด

เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2565 สถาบันนวัตกรรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยพะเยา ได้ทำพิธีส่งมอบเทคโนโลยีจากผลงานวิจัยโครงการ "ผลของการบริโภคสไปรุลิน่าต่อการทำงานของไตและระดับไขมันในเลือด"  โดยมีนักวิจัย คือ ดร.วิทวัส สัจจาพงศ์ คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัฐฏมิ พรหมณะ คณะพลังงานและสิ่งแวดล้อมและคณะ ร่วมกับ ภาคเอกชนที่ร่วมดำเนินโครงการวิจัย ได้แก่ บริษัท ซีเอ็มเอชเชียงใหม่ โฮลดิ้ง จำกัด และคู่ความร่วมมือคือ บริษัท พาว มิราเคิลจำกัด ซึ่งมีการพัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อจัดจำหน่ายในเชิงพาณิชย์ โดยบริษัท พาว มิราเคิลจำกัด ได้ทำการเปิดตัวผลิตภัณฑ์ พาวซูการ์คิว (POW ZUKAR Q) ในครั้งนี้

จากผลงานการวิจัยของนักวิจัยมหาวิทยาลัยพะเยา ในการเลี้ยงสาหร่ายสไปรุลินา สายพันธ์ Platensis ด้วยกรรมวิธีพิเศษ เอกสิทธิ์ Blue Spira (บลู สเปียร่า) จากการวิจัยพบว่า สาหร่ายสไปรุลิน่า มีสารต้านอนุมูลอิสระชนิด ไฟโคไซยานิน และสารโพลีแซคคาไรด์ ซึ่งจะกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว สามารถช่วยลดความเสี่ยงภูมิแพ้ ช่วยควบคุมระดับไขมันในเลือด ได้ทั้งไขมันโคเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์ ควบคุมความดันโลหิต โดยได้มีการนำมาทดสอบในอาสาสมัคร 36 คน (ข้อมูลการศึกษาของปี พ.ศ.2550) ที่ได้รับสไปรุลิน่า 9.5 กรัมต่อวัน เป็นเวลานานกว่า 6สัปดาห์ พบว่ามีความเปลี่ยนแปลงของระดับไขมันคอเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์ และความดันโลหิต ลดลง

และจากการวิจัยพบว่า "ผลของการบริโภคสไปรุลิน่าที่เลี้ยงด้วยกรรมวิธีพิเศษ BlueSpira ต่อการทำงานของไต และระดับไขมันในเลือด"  ในการทดลองจากอาสาสมัคร จำนวน 80 คน โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกบริโภคสไปรุลิน่า(กลุ่มทดสอบ) 40 คน  และกลุ่มบริโภคสไปรุลินาหลอก(กลุ่มควบคุม) 40 คน  พบว่า มีการต่อการลดไขมันในเลือดคือ Total cholesterolTriglycerides Low-Density Lipoprotein Cholesterol และเพิ่มระดับ High-Density LipoproteinCholesterol นอกจากนั้นไม่มีผลต่อการทำลายการทำงานของไต และสุขภาพ โดยสไปรุลินาได้รับการับรองว่า เป็นอาหารที่ปลอดภัยอีกด้วย

ที่มาข้อมูล : สถาบันนวัตกรรมถ่ายทอดเทคโนดลยี มหาวิทยาลัยพะเยา

POW Zukar Q พาวซูการ์คิว

กลุ่มโรค NCDs เป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหาร การดื่มแอลกฮอล์ การสูบบุหรี่ การไม่ออกกำลังกาย การนอนดึก มีภาวะความเครียดสูง  ตัวอย่างของโรค NCDs ได้แก่ โรคไขมันในเลือดสูง โรคความดันสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ  โรคห...

ดูรายละเอียด

สุขภาพหญิง

บทความน่ารู้

ห้ามกิน ฟาวิพิราเวียร์ คู่กับ ฟ้าทะลายโจร

เตือนผู้ป่วยโควิด‼ ห้ามกิน ฟาวิพิราเวียร์ คู่กับ ฟ้าทะลายโจร เสี่ยงเป็นพิษต่อตับคณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี เผย ยาฟาวิพิราเวียร์ (Favipiravir) ปัจจุบันเป็นยาหลักในการรักษาผู้ติดเชื้อโควิด 19 ตามแนวทางการดูแลรักษาโควิด 19 โดยกรมการแพทย์ เนื่องจากมีประ...

อ่านต่อ

ภาวะเบาหวานขึ้นตา

ภาวะเบาหวานขึ้นตาแบ่งเป็น 2 ระยะเบาหวานขึ้นตาระยะเริ่มแรกเบาหวานขึ้นตาระยะเริ่มแรก เป็นระยะที่ผนังของเส้นเลือดที่จอตาไม่แข็งแรง ส่งผลให้เส้นเลือดโป่งขึ้น อาจทำให้เลือดหรือของเหลวรั่วออกมาในจอตา และเส้นเลือดใหญ่ที่จอตาจะเริ่มขยายตัวใหญ่ขึ้นผิดปกติ รวม...

อ่านต่อ

นิสัยการวิ่งแบบผิด ที่ควรเลิกทำ

การวิ่งถือเป็นอีกหนึ่งการออกกำลังกายที่ดีและทำได้ง่าย แต่จะมีสักกี่คนที่รู้จักการวิ่งที่ถูกวิธีจริงๆ? ลองมาสำรวจพฤติกรรมการวิ่งของตัวเองกัน ว่าคุณมี 9 ข้อต่อไปนี้หรือไม่ ถ้ามีก็ขอให้เลิกทำ เพื่อสุขภาพที่ดีอย่างแท้จริงวิ่งมากเกินไปการใช้งานร่างกายหนัก...

อ่านต่อ

สมุนไพรไทย ภูมิใจ พาว

สมุนไพรไทยในผลิตภัณฑ์ พาวเดอร์ล่า พาวในรูปแบบผง ที่พาว ภูมิใจนำเสนอ พลูคาว มีสารฟลาโวนอยด์ อัลคาลอยด์ และสารเควอซิทิน เสมือนเกราะป้องกันการทำลายเซลล์ในร่างกาย มีส่วนช่วยต้านอนุมูลอิสระ และลดการอักเสบกระชายขาว มีสารแพนดูราทิน ที่สามารถลดจำนวนเซลล์ที...

อ่านต่อ

ช่องคลอดแห้ง ป้องกันได้

การป้องกันภาวะช่องคลอดแห้งภาวะช่องคลอดแห้งเป็นภาวะที่เกิดขึ้นได้ตามธรรมชาติในวัยหมดประจำเดือน และบางครั้งอาจเกิดได้จากสาเหตุอื่นที่ส่งผลให้สภาวะภายในช่องคลอดเสียสมดุล แนวทางการป้องกันจึงเป็นการรับมือกับภาวะหมดประจำเดือนก่อนถึงช่วงเวลาและดูแลช่องคลอดใ...

อ่านต่อ