โรคและอาการแทรกซ้อนในช่วงวัยทอง

โรคและอาการแทรกซ้อนในช่วง<strong>วัยทอง</strong> #1

ภาวะโรคแทรกซ้อนในช่วงวัยทอง หลังช่วงหมดประจำเดือน หรือประจำเดือนไม่มา ระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนในร่างกายลดลงสามารถเพิ่มระดับความเสี่ยงให้เกิดโรคหรืออาการติดเชื้อบางอย่างได้ง่าย เพราะเอสโตรเจนเป็นฮอร์โมนที่มีผลต่อเซลล์ต่างๆ ในร่างกาย

อาการและโรคแทรกซ้อนในช่วงวัยทอง

โรคกระดูกพรุน

ถือเป็นโรคยอดฮิตของวัยกลางคน วัยทองกันเลยทีเดียว ด้วยเหตุผลที่ฮอร์โมนเอสโตนเจน มีส่วนช่วยในการสร้างเนื้อกระดูกด้วยระดับฮอร์โมนที่ลดลงจึงส่งผลต่อการสร้างกระดูก จึงถือว่า วัยทองมีความเสี่ยงอย่างมากที่จะเป็นโรคกระดูกพรุน

โรคและอาการแทรกซ้อนในช่วง<strong>วัยทอง</strong> #3

กลั้นปัสสาวะไม่อยู่

ด้วยความที่เนื้อเยื่ออวัยวะเพศและท่อปัสสาวะขาดความยืดหยุ่น  และเสื่อมสภาพ ทำให้มีอาการปัสสาวะเล็ดบ่อยๆ แม้บางครั้งเพียงจาม หรือไอ ปัสสาวะก็เล็กแล้ว

โรคและอาการแทรกซ้อนในช่วง<strong>วัยทอง</strong> #4

โรคความดันสูง

ความดันสูง ในวัยทอง มักเกิดจากระบบเผาผลาญร่างกายมีน้อยลงเสื่อมลง อาจทำให้มีไขมันอุดตันตามส่วนต่างๆ หรือ อุดตันในเส้นเลือด ก็เป็นได้

โรคและอาการแทรกซ้อนในช่วง<strong>วัยทอง</strong> #2


Lu7 แอลยูเซเว่น

หากคุณมีน้ำตาลในเลือดสูง ต่อเนื่องเป็นเวลานานๆ ให้ลองสังเกตว่าเริ่มมีอาการแทรกซ้อนเหล่านี้แล้วหรือไม่แอลยูเซเว่น คืออะไร??แอลยูเซเว่น  คือ ส่วนผสมของสมุนไพรที่มีงานวิจัย และเป็นสมุนไพรธรรมชาติ ปลูกด้วยระบบเกษตรอินทรีย์ ใส่ใจขั้นตอนการปลูก และ การเก็บ...

ดูรายละเอียด

สุขภาพหญิง

บทความน่ารู้

การดูแลผิวพรรณเมื่อเข้าสู่ภาวะวัยทอง

เมื่ออายุย่างเข้าเลข 4 หรือวัย 40+  ภาวะเข้าสู่วัยทอง ผิวพรรณ เป็นอีกสิ่งที่เห็นความแตกต่างได้ชัดเจน ทั้งริ้วรอยเพิ่มขึ้น ความเต่งตึงของผิวลดลง  ฝ้า กระ จุดต่างดำเห็นได้ชัด มีภาวะผิวแห้ง คัน  เนื่องจากฮอร์โมนเอสโตรเจนตก  คอลลาเจนและอิลาสตินในชั้นผิว...

อ่านต่อ

ถามตอบ เอเลน่า สมุนไพร วัยทอง

คำถามที่พบบ่อย เกี่ยวกับ เอเลน่า อาหารเสริมสมุนไพร12ชนิด ปรับอาการวัยทอง ที่คิดค้นด้วยสูตินารีเวช สำหรับสุขภาพสตรีวัยทอง หรือผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับประจำเดือนมาไม่ปกติ ปวดท้องเวลามีรอบเดือน หรือผู้หญิงที่มีการตัดมดลูกออกต้องการเสริมฮอร์โมนเอเลน่า ไม่...

อ่านต่อ

อารมณ์ต่างๆ ล้วนเกิดจากลำไส้

อารมณ์ต่างๆ ล้วนเกิดจากลำไส้คำนี้มีตั้งข้อสังเกตุมานับพันปี ซึ่งส่วนใหญ่ของจุลินทรีย์ในลำไส้คือ แบคทีเรียซึ่งมีทั้งร้ายและดีที่ต่ำกว่า 1% ที่จะก่อให้เกิดโรค หลายทศวรรษที่ผ่านมาผู้เชี่ยวชาญไม่เชื่อว่าแบคทีเรียในลำไส้มีผลต่อสุขภาพจิต จนมีหลักฐานมากขึ้น...

อ่านต่อ

พลูคาว คือ

พลูคาว หรือผักคาวตอง เป็นผักพื้นบ้านที่นิยมรับประทานใบสดแกล้มอาหาร โดยเฉพาะอาหารเหนือและอีสาน เช่น ลาบ ก้อย และแจ่ว และมีงานศึกษาวิจัยของหลายสถาบันที่รับรองสรรพคุณประโยชน์ของพลูคาว ว่ามีสรรพคุณรักษาหรือป้องกันโรคร้ายต่าง ๆ เช่น โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน ช...

อ่านต่อ

ประโยชน์และโทษ กระชาย แต่ละชนิด

กระชายพืชสมุนไพรที่หลายคนคุ้นเคย แต่เราทราบไหมว่ากระชายมีกี่ชนิด และแต่ละชนิดมีสรรพคุณอะไร ดีอย่างไร และมีโทษอย่างไรบ้าง  กระชาย มีด้วยกัน 3 ชนิดคือ กระชายเหลืองหรือกระชายขาว  กระชายดำ และกระชายแดง เรามาทำความรู้จักประโยชน์ และโทษของกระชายแ...

อ่านต่อ