กระเทียม กับ โรคหลอดเลือดหัวใจ
ปรับปรุงล่าสุด : 4 กุมภาพันธ์ 2565ข้อมูลทางการแพทย์ปัจจุบันที่อ้างอิงข้อพิสูจน์ทั้งเก่าและใหม่ระบุว่า กระเทียมมีปฏิกิริยาต่อต้านการแข็งตัวของเลือด ทั้งนี้ ดร.ซาเล็ม อะหฺมัด และ ดร.เอริค บลูค จากมหาวิทยาลัยนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกาผู้ค้นพบสารอะโจอิน (Ajoene) ในกระเทียมซึ่งเป็นสารต่อต้านการเกาะตัวของเลือด ได้พบว่ามันมีฤทธิ์ในการยับยั้งการเกาะตัวของเกร็ดเลือดและป้องกันการเกิดหัวใจวายไม่น้อยกว่าแอสไพริน ดร.บลูค ได้ฉีดสารอะโจอินหนึ่งเข็มแก่กระต่ายที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ ปรากฏว่าการเกาะตัวของเกร็ดเลือดของมันได้ชะงักลงภายใน 24 ชั่วโมง
ดร.บลูค จึงเห็นว่า กระเทียมจะสามารถเป็นยาต้านการเกาะตัวของเลือดได้ในไม่ช้า และมีผลการทดลองกับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจระบุว่าการรับประทานกระเทียมจะช่วยลดปริมาณคอเลสเตอรอล ไตรกลีเซอร์ไรด์และไขมันประเภทอื่นๆ ในเลือด อีกทั้งในเวลาเดียวกันยังเพิ่มไขมันเลือด (HDL) ที่จำเป็นต่อร่างกาย
ทีมนักวิจัยชาวอินเดียที่นำโดย ศ.บูรเดีย จากมหาวิทยาลัยมุมไบ ซึ่งเป็นคณะวิจัยกลุ่มแรกที่ทำการวิจัยเกี่ยวกับเรื่องนี้ได้ค้นพบว่า การรับประทานน้ำคั้นกระเทียมสดทุกวันจะทำให้คอเลสเตอรอลในระดับ 305 mlg.% ลดลงสู่ระดับ 218 mlg.% ภายในเวลาสองเดือน
ข้อมูลจาก : thaihealth.or.th

POW พาว ซุยยากุ เอสเซนส์ พาวน้ำ สมุนไพรพลูคาวสกัด
พาวน้ำสมุนไพรสกัด 11 ชนิด ได้แก่ พลูคาว ใบมะรุม มะขามป้อม กระชายดำ ตังกุย เห็ดหลินจือ เก๋ากี๊ สมอไทย โสม ลูกยอ เจียวกู้หลาน

Lu7 แอลยูเซเว่น
LU7 ประกอบด้วยสมุนไพร7ชนิดที่มีสรรพคุณเฉพาะ ได้แก่ ปัญจขันธ์ เห็ดหลินจือ ตังถั่งเช่า อบเชย หญ้าหวาน ผักเชียงดา ใบเตยหอม