พาว ความภูมิใจของอาจารย์นักวิจัยไทย

ปรับปรุงล่าสุด : 6 มีนาคม 2567

พาว ความภูมิใจของอาจารย์นักวิจัยไทย #2

กว่า 15 ปี ของความพยายาม และความหวังอันยิ่งใหญ่ของเกษตรกรไทย สู่ตลาดสากล ผลงานภายใต้โครงการวิจัย จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จํานวน 4 ฉบับ พลูคาวสกัดเข้มข้น จากงานวิจัย เป็นเอกสิทธิ์ 1 เดียวในประเทศไทย ทั้งใน กระบวนการผลิตในรูปแบบเครื่องดื่ม ผงบรรจุซอง และผงบรรจุแคปซูล ซึ่งเป็น อนุสิทธิบัตร 2 ฉบับ

พาว ความภูมิใจของอาจารย์นักวิจัยไทย #3

งานวิจัยที่ 1 ปี พ.ศ. 2554 เรื่อง การวิเคราะห์ค่าทางโภชนาการ สาระสําคัญและฤทธิ์การต่อต้าน อนุมูลอิสระของน้ําผลไม้ผสมสมุนไพรพร้อมดื่ม โดย นักวิทยาศาสตร์ประจําคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พบว่า ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตโดยใช้สารสกัดพลูคาวจากงานวิจัยนั้น มีสารประกอบฟีนอลิก Phenolic compounds และFlovonoids ฟลาโวนอยด์เป็นองค์ประกอบ สารหลักที่พบคือ Epicatechin Quecitin และ Rutin ซึ่งเป็นสารสําคัญที่ออกฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระ และลดการเกิดออกซิเดชันของไข มันในหลอดเลือด (เอกสิทธิ์, 2554)

พาว ความภูมิใจของอาจารย์นักวิจัยไทย #4

งานวิจัยที่ 2 ปี พ.ศ. 2556 เรื่อง การพัฒนากระบวนการผลิตพลูคาวผสมน้ําผลไม้และสมุนไพรได้ มาซึ่งจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ (Probiotics) โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจําคณะคณะอุตสาหกรรม เกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พัฒนาการเทคโนโลยีการผลิต ให้มีความเฉพาะเจาะจงเพื่อได้สารออกฤทธิ์ ในปริมาณ จากการค้นคว้าวิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการผลิตเทคนิคพิเศษ สามารถนําส่งจุลินทรีย์กลุ่มกรดแลคติก (Lactic acid bacteria หรือ LAB) สามารถจดอนุสิทธิบัตรวิธีการผลิต (อิสรพงษ์, 2556)

พาว ความภูมิใจของอาจารย์นักวิจัยไทย #5

งานวิจัยที่ 3 เรื่อง ปี พ.ศ. 2558 การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดจากใบพลูคาวเพื่อยกระดับ ความสามารถด้านการแข่งขันในเชิงพาณิชย์ของผลิตภัณฑ์ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจําคณะ อุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พบว่าเมื่อศึกษาวิจัยถึงฤทธิ์ทางชีวภาพในหลอดทดลอง สามารถยับยั้งอนุมูลอิสระ ซึ่งเป็นสาเหตุสําคัญของการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่น และการเกิดโรคเรื้อรัง กลุ่ม โรค NCDs ชนิดไม่ติดต่อ เช่น มะเร็ง เบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ เป็นต้น และยังสามารถยับยั้งการเจริญ ของเซลล์มะเร็งได้หลายชนิด ได้แก่ มะเร็งปอด มะเร็งช่องปาก มะเร็งเต้านม มะเร็งตับ และมะเร็งลําไส้ใหญ่ ส่วนในการศึกษาความเป็นพิษต่อเซลล์ พบว่าไม่มีความเป็นพิษต่อเซลล์ไตของลิง และเซลล์ผิวหนังของ มนุษย์ (เอกสิทธิ์, 2558)

พาว ความภูมิใจของอาจารย์นักวิจัยไทย #6

งานวิจัยที่ 4 เรื่อง ปี พ.ศ. 2563 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ได้ทําการศึกษาต่อเนื่อง โดยมุ่งสร้างเอกลักษณ์ในส่วนของกระบวนการผลิตของสารสกัดจากใบ พลูคาว เพื่อยกระดับความสามารถด้านการแข่งขันในเชิงพาณิชย์ของผลิตภัณฑ์ โดยเลือกใช้ นวัตกรรม การย่อยด้วยกลุ่มของเอ็นไซม์เฉพาะเจาะจง (Enzyme Hydrolyses (EN.HYDRO) เพื่อผลิตโมเลกุลของสาร ออกฤทธิ์ทางชีวภาพในรูปฟอร์มที่มีขนาดเล็กลง ทําให้มีกิจกรรมทางชีวภาพใหม่เกิดขึ้นและยังทําให้เกิด การดูดซึมได้ง่ายยิ่งขึ้น นําส่งสารออกฤทธิ์เข้มข้นขึ้นกว่างานวิจัยตัวก่อน (เอกสิทธิ์, 2563)

พาว ความภูมิใจของอาจารย์นักวิจัยไทย #7

พาว ความภูมิใจของอาจารย์นักวิจัยไทย #8

พาว ความภูมิใจของอาจารย์นักวิจัยไทย #9

ทั้งหมดนี้คือ เส้นทางของงานวิจัย กว่าจะมาเป็น พาว ผลิตภัณฑ์คุณภาพเพื่อดูแลสุขภาพคนไทย ในวันนี้

Khampo.com

สนใจสินค้า หรือ ต้องการพูดคุยปรึกษา เรื่องการดูแลสุขภาพ ติดต่อสอบถามพวกเรา KHAMPO.com (คำโพธิ์ด๊อดคอม) ได้เสมอค่ะ