พรีไบโอติก และ โพรไบโอติกส์ ต่างกันอย่างไร

<strong>พรีไบโอติก</strong> และ <strong>โพรไบโอติก</strong>ส์ ต่างกันอย่างไร #1

เคยได้ยินคำว่าพรีไบโอติก (Prebiotics) และโพรไบโอติก (Probiotics) กันบ้างหรือไม่ ทั้งสองอย่างนี้ทำหน้าที่สำคัญต่อระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่าย 

โพรไบโอติก คือ จุลินทรีย์ที่มีชีวิตชนิดดี มีประโยชน์ต่อสุขภาพ เปรียบเสมือนทหารดี

พรีไบโอติก  คือ สารอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ เป็นไฟเบอร์ หรือกากใย เป็นอาหารของโพรไบโอติก เปรียบเสมือนเสบียงของทหารดี

ซึ่งทั้ง พรีไบโอติก และโพรไบโอติก จะทำงานสัมพันธ์กัน แต่จะมีความแตกต่างกันตรงที่ พรีไบโอติกนั้นเป็นสารอาหารที่ได้จากการรับประทานอาหารและอาหารเสริม    ในขณะที่โพรไบโอติกจะเป็นจุลินทรีย์ที่มีชีวิตและมีประโยชน์ต่อร่างกายซึ่งสามารถพบได้จากการรับประทานอาหารและอาหารเสริมเช่นเดียวกัน

นอกจากนี้พรีไบโอติกยังไม่สามารถถูกย่อยที่ลำไส้เล็กได้ จำเป็นต้องอาศัยโพรไบโอติก มาทำการย่อยเพื่อเป็นอาหารให้แบคทีเรียที่ดีในลำไส้ ดังนั้นจะเห็นได้ว่า ร่างกายไม่ควรขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งไม่ว่าจะเป็นพรีไบโอติกหรือโพรไบโอติก เพราะทั้งสองสิ่งนี้ทำงานเกื้อกูลซึ่งกันและกัน และให้ประโยชน์ต่อร่างกายเช่นเดียวกัน

ข้อมูลอ้างอิง : ข้อมูลโภชนาการ โภชนาการเพื่อสุขภาพ hellokhunmor.com 

POW DERLA พาวเดอร์ล่า

พาวเดอร์ล่า POWDERLA  พาวรูปแบบใหม่ พาวผงชงดื่ม ได้ประโยชน์ อร่อย ชงง่าย โดยมีพลูคาวเป็นส่วนผสมหลัก นอกจากนี้ยังประกอบไปด้วย ขิง  กระชายขาว  ตรีผลา (สมอไทย มะขามป้อม สมอพิเภก) ใบหม่อน  ชะเอมเทศ  เก๊กฮวย  เจียวกู้หลาน  แป๊ะก๊วย  ใบบัวบก  งาดำ  สารสกัด...

ดูรายละเอียด

เบาหวาน

บทความน่ารู้

เบาหวาน เสี่ยงโควิด

โรคไม่ติดต่อเรื้อรังอย่าง "เบาหวาน" เป็น 1 ใน 8 ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดปอดอักเสบของผู้ป่วย COVID-19 แล้วคนเป็นเบาหวานต้องดูแลตัวเองอย่างไรให้ปลอดภัยจาก COVID-19 กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เผย 8 ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดปอดอักเสบของผู้ป่วย COVID-19 ...

อ่านต่อ

พาว ความภูมิใจของอาจารย์นักวิจัยไทย

กว่า 15 ปี ของความพยายาม และความหวังอันยิ่งใหญ่ของเกษตรกรไทย สู่ตลาดสากล ผลงานภายใต้โครงการวิจัย จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จํานวน 4 ฉบับ พลูคาวสกัดเข้มข้น จากงานวิจัย เป็นเอกสิทธิ์ 1 เดียวในประเทศไทย ทั้งใน กระบวนการผลิตในรูปแบบเครื่องดื่ม ผงบรรจุซอง...

อ่านต่อ

พาว การรับประทาน วิธีการเก็บรักษา

การรับประทานพาวมีลูกค้าหลายๆ ทานที่ซื้อพาวไป ได้สอบถามวิธีการรับประทานพาวมาหลายข้อความ วิธีทานพาว วิธีดื่มพาว มีข้อควรระวังอะไรบ้าง มีคำตอบดังนี้ครับ ควรเริ่มดื่มพาว วันละ 15ml. (ประมาณเกือบครึ่งแก้วตวง) หลังอาหาร มื้อใดก็ได้ ในกรณีมียาประจำที่ต้องท...

อ่านต่อ

น้ำตาลสูง จุดเริ่มต้นของปัญหาสุขภาพ

การทำให้น้ำตาลลดไม่ใช่เรื่องที่ยาก หรือเป็นไปไม่ได้ แต่การทำให้ใช้ชีวิตเป็นปกติสุข  นอนหลับง่าย ไม่ตื่นมาฉี่บ่อย ไม่อ่อนเพลีย มีแรง ไม่ถูกเพิ่มยา ไม่ถูกฉีดอินซูลิน และการไม่มีโรคแทรกอื่น สิ่งเหล่านี้ต่างหากคือจุดประสงค์ของ "พาวซูการ์คิว"พาวซูกา...

อ่านต่อ

เป้าหมายหลักของการดูแลเบาหวาน

เป้าหมายของการดูแลเบาหวาน คือควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ใกล้เคียงปกติ การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดที่ดีสำหรับคนที่เป็นเบาหวานต้องควบคุมให้ได้ทั้งก่อนและหลังอาหาร ระดับน้ำตาลในเลือดก่อนอาหารตอนเช้าควรอยู่ประมาณ 90-110มก./ดล. ส่วนหลังอาหารต่ำกว่า 180มก....

อ่านต่อ