บลูสเปียร่า ส่วนผสมสำคัญใน พาวซูการ์คิว

จากการทดลองของคณะวิจัย ม.พะเยา สาหร่ายสไปรูลิน่า จนได้สารสกัดบลูสเปียร่า ส่วนผสมหลักในผลิตภัณฑ์ "พาวซูการ์คิว"   ผลิตภัณฑ์ทางร่วมสำหรับควบคุมดูแลกลุ่มโรคNCDs กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ไขมัน ความดัน โรคเกี่ยวกับหลอดเลือด

จากการวิจัยทดลองให้อาสาสมัครจำนวน 64 คน ที่ผ่านการทดลองรับประทานเป็นเวลา 12 สัปดาห์ ผลค่าระดับน้ำตาล ค่าความดันในเลือดออกมาเป็นที่น่าพอใจ ร่างกายได้ผ่อนคลายหลับได้มากขึ้น  และที่สำคัญค่าไตเป็นปกติจากการบริโภคติดต่อกันเป็นเวลา 12 สัปดาห์


POW Zukar Q พาวซูการ์คิว

กลุ่มโรค NCDs เป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหาร การดื่มแอลกฮอล์ การสูบบุหรี่ การไม่ออกกำลังกาย การนอนดึก มีภาวะความเครียดสูง  ตัวอย่างของโรค NCDs ได้แก่ โรคไขมันในเลือดสูง โรคความดันสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ  โรคห...

ดูรายละเอียด

เบาหวาน

บทความน่ารู้

ข้าวกล้อง ข้าวขาว

หลาย ๆ คนหันมาใส่ใจในสุขภาพมากขึ้น การออกกำลังกาย การเลือกรับประทานอาหารที่แคลลอรี่น้อย ๆ บางคนถึงขั้นบอกว่าเลิกกินข้าวเลยดีกว่าเพราะข้าวเป็นแป้ง น่าจะทำให้อ้วนได้ ดังนั้นในบทความนี้จะขอพูดถึงแหล่งคาร์โบไฮเดรตทางเลือกอย่างเช่น ข้าวกล้อง ว่ามีความแตกต...

อ่านต่อ

ทำให้น้ำตาลลดลง ใครว่าทำไม่ได้

การทำให้น้ำตาลลดไม่ใช่เรื่องที่ยาก หรือเป็นไปไม่ได้ !!แต่การทำให้ใช้ชีวิตเป็นปกติสุข ไม่ตื่นตอนดึก นอนหลับง่าย ไม่ตื่นมาฉี่บ่อย ไม่อ่อนเพลีย มีแรง ไม่ถูกเพิ่มยา ไม่ถูกฉีดอินซูลิน และการไม่มีโรคแทรกอื่น สิ่งเหล่านี้ต่างหากคือจุดประสงค์ของ "พาวซูการ์ค...

อ่านต่อ

พาวซูการ์คิว และ พาวแคปซูล

พาวแบบเม็ด มี 2 ชนิด  คือ พาวแคปซูล และ พาวซูการ์คิว ซึ่งทั้ง 2 ชนิด มีความต่างกันคือพาวซูการ์คิว Zukar Q สำหรับผู้ที่มีปัญหาสุขภาพน้ำตาล ไขมันคอเลสตอลรอล ไขมันเลว และความดัน มีงานวิจัยบลูสเปียร่าจากม.พะเยา พาวแคปซูล มีส่วนผสมของพลูคาว และสมุน...

อ่านต่อ

สมุนไพรคือความหวังในการต้านไวรัส

สมุนไพรคือความหวังในการต้านไวรัส โดยเฉพาะสมุนไพรมีงานวิจัยรับรอง แต่ละคนมีระดับภูมิคุ้มกันร่างกายต่างกัน  คนที่ติดโควิดไม่ได้ตายเพราะตัวไวรัส แต่ตายเพราะภูมิตัวเองเพราะภูมิไปผลิตสารสื่อที่เป็นสารสื่ออักเสบเพื่อฆ่าไวรัส ฆ่าไวรัสด้วย ฆ่าเราด้วย ทำ...

อ่านต่อ

ความเครียด ลำไส้ สัมพันธ์กัน

เคยสงสัยกันไหมว่า ทำไมเวลาเครียดมากๆ เราถึงรู้สึกปวดท้อง กระอักกระอ่วน อาการเหล่านี้เกี่ยวข้องกับลำไส้อย่างไร และ มีวิธีแก้อย่างไรได้บ้าง ลำไส้นั้นก็เหมือนสมองอันที่สองของร่ายกาย เพราะลำไส้มีสาร Serotonin (เซโรโทนิน) คือสารที่ส่งผลต่ออารมณ์ความรู้สึก...

อ่านต่อ