ค่าน้ำตาลสะสม

ค่าน้ำตาลสะสมของคุณเท่าไร? ถ้าตอบไม่ได้ ถ้าไม่รู้ บอกเลยว่า เบาหวานที่เป็นอยู่ หายยากแน่นอน บทความนี้บอกว่าค่านี้สำคัญยังไง

<strong>ค่าน้ำตาลสะสม</strong> #1

ผู้ป่วยเบาหวาน ควรตรวจหาค่าน้ำตาลสะสม ทุกๆ 3เดือน

การตรวจหาค่าน้ำตาลสะสม ส่วนใหญ่จะใช้เลือดจากเส้นเลือดที่แขน ซึ่งส่วนใหญ่หมอจะตรวจให้ทุกปี ผลที่แสดงในใบแล็ปคือค่าที่เขียนว่า HbA1C ซึ่งค่าตัวเลขที่ดีคืออยู่ระหว่าง 4-6% และจะสัมพันธ์กับค่าน้ำตาลปลายนิ้ว เช่น น้ำตาลปลายนิ้ว 101mg./dL จะเท่ากับน้ำตาลสะสม 5% ซึ่งการตรวจน้ำตาลสะสมนี้ จะหลอกหมอไม่ได้ เพราะเป็นค่าน้ำตาลในเลือดเราย้อนหลัง 3เดือน ซึ่งมีความแม่นยำกว่าการเจาะปลายนิ้วมาก แต่ด้วยค่าตรวจที่แพงกว่าแบบปลายนิ้ว จึงทำให้หมอตรวจให้แค่ปีละ 1ครั้ง ซึ่งในความเป็นจริง ผู้ป่วยเบาหวานควรตรวจค่านี้ทุกๆ 3เดือน ซึ่งถ้าคุณหมอไม่ตรวจให้ เราสามารถตรวจเองได้ตามแล็ปเอกชนทั่วไป ราคาประมาณ 300-500บาท เพราะการตรวจน้ำตาลสะสมนี้ถ้าเราสามารถทำตัวเลขได้ต่ำกว่า 5.7% และน้ำตาลปลายนิ้วต่ำกว่า 126 คุณหมอก็จะพิจารณาลดยาเบาหวานลง จนหยุดยาในที่สุดได้ จึงทำให้ลดการเกิดโรคแทรกซ้อนที่เกิดจากเบาหวาน และ โรคไตที่เกิดจากการทานยาปริมาณมากติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน

Lu7 แอลยูเซเว่น

หากคุณมีน้ำตาลในเลือดสูง ต่อเนื่องเป็นเวลานานๆ ให้ลองสังเกตว่าเริ่มมีอาการแทรกซ้อนเหล่านี้แล้วหรือไม่แอลยูเซเว่น คืออะไร??แอลยูเซเว่น  คือ ส่วนผสมของสมุนไพรที่มีงานวิจัย และเป็นสมุนไพรธรรมชาติ ปลูกด้วยระบบเกษตรอินทรีย์ ใส่ใจขั้นตอนการปลูก และ การเก็บ...

ดูรายละเอียด

เบาหวาน

บทความน่ารู้

พลูคาว คือ

พลูคาว หรือผักคาวตอง เป็นผักพื้นบ้านที่นิยมรับประทานใบสดแกล้มอาหาร โดยเฉพาะอาหารเหนือและอีสาน เช่น ลาบ ก้อย และแจ่ว และมีงานศึกษาวิจัยของหลายสถาบันที่รับรองสรรพคุณประโยชน์ของพลูคาว ว่ามีสรรพคุณรักษาหรือป้องกันโรคร้ายต่าง ๆ เช่น โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน ช...

อ่านต่อ

คำถามยอดฮิตกับการใช้ยาฉีดอินซูลิน

 อินซูลิน คือฮอร์โมนที่ตับอ่อนสร้างขึ้น เพื่อนำน้ำตาลไปสร้างเป็นพลังงาน แต่ในคนที่เป็นเบาหวานบางคนไม่สามารถนำน้ำตาลไปใช้เป็นพลังงานได้ จำเป็นต้องได้รับการฉีดอินซูลินเข้าไปทดแทน ซึ่งการฉีดอินซูลินเป็นวิธีที่จำเพาะ ควรเรียนรู้วิธีการฉีดอินซูลินจาก...

อ่านต่อ

ไม่ออกกำลังกาย เสี่ยงกว่า ผู้ป่วยเบาหวาน

เราทราบกันดีว่า การออกกำลังกายช่วยให้ชีวิตยืนยาวขึ้นได้ การไม่ออกกำลังกาย อาจให้ผลร้ายมากกว่าการสูบบุหรี่ หรือเป็นโรคเบาหวาน และ โรคหัวใจเสียอีกการวิจัยเรื่องผลของการ ไม่ออกกำลังกาย จัดทำขึ้นโดยนักวิจัยที่โรงพยาบาล Cleveland Clinic ในรัฐโอไฮโอ โดยใช้...

อ่านต่อ

พาวซูการ์คิว คุมน้ำตาล ลดไขมัน

POW Zukar Q ผลิตภัณฑ์ทางร่วมเพื่อดูแลผู้ที่มีความเสี่ยงจากโรคกลุ่มNCDs  โรคที่เกิดจากพฤติกรรมการใช้ชีวิต เช่น เบาหวาน ไขมัน  ความดัน  โรคหลอดเลือดหัวใจ และสมอง  โรคตับแข็ง  โรคอ้วนลงพุง  โรคมะเร็งเป็นต้นพาวซูการ์คิว สำหรับผู้ที่ต้องการควบคุมน้ำตาลเบ...

อ่านต่อ

พลูคาว รับประทานอย่างไรให้ปลอดภัย

แม้พลูคาวมีสารอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายอยู่มาก และไม่ก่อให้เกิดอันตรายสำหรับคนทั่วไปหากบริโภคในปริมาณที่เหมาะสมจากการรับประทานอาหาร แต่ขณะนี้ยังไม่มีข้อมูลหรือการทดลองใดยืนยันชัดเจนได้ว่าพลูคาวมีประสิทธิผลทางการรักษาหรือป้องกันโรคต่าง ๆ ในมนุษย์...

อ่านต่อ