ไขข้อข้องใจ สร้างภูมิสู้ไวรัส

กระแสที่เกิดขึ้นตอนนี้ หลายคนตื่นตระหนกและหวาดกลัว ไปจนถึงหวั่นใจ กับคำถามมากมายว่าเชื้อโรคและไวรัสน่ากลัวแค่ไหน ภูมิต้านทานหรือภูมิคุ้มกันสำคัญแค่ไหน และจะเสริมสร้างภูมิคุ้มกันได้อย่างไร มาไขข้อข้องใจเรื่องไวรัสกับภูมิต้านทานในร่างกายของเรากับ นพ.สุชาติ เลาบริพัตร แพทย์เฉพาะทางด้านระบาดวิทยา และ ผศ.ดร. เอกสิทธิ์ จงเจริญรักษ์ นักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญ ที่ตอบทุกข้อสงสัยให้เราเข้าใจเรื่องการสร้างภูมิสู้ไวรัส จะได้รู้ทันและป้องกันตัวเองจากโรคระบาดได้ดีขึ้น

การที่คนเราจะป่วยหรือติดโรคมีอยู่ 2 ปัจจัย คือปริมาณเชื้อไวรัสที่เข้ามามีมากน้อยแค่ไหน และภูมิต้านทานของเราสามารถต่อสู้กับไวรัสได้ไหม ถ้าเชื้อเข้ามาในปริมาณมากแต่ภูมิต้านทานน้อย ร่างกายสู้ไม่ได้ ก็ป่วย ตรงกันข้าม ถ้าเชื้อเข้าสู่ร่างกายน้อยและภูมิต้านทานสูง เราก็สู้ชนะ

ไวรัสมีหลายประเภท สามารถเข้าสู่ร่างกายด้วยช่องทางที่แตกต่างกัน ทั้งทางผิวหนัง ทางเดินอาหาร และทางเดินหายใจ ซึ่งแต่ละช่องทางที่ไวรัสเข้าสู่ร่างกายของเราจะมีภูมิต้านทานคอยต่อสู้กับไวรัส

ภูมิต้านทานของร่างกายมีอยู่สองกลุ่มใหญ่ คือภูมิต้านทานทั่วไปซึ่งอยู่ในบริเวณต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นผิวหนัง ทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ เมื่อเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรียเข้าสู่ร่างกาย ภูมิต้านทานเหล่านี้จะต่อสู้เหมือนทหารที่คอยป้องกันชายแดน แต่หากไวรัสบุกเข้ามาในปริมาณมาก ภูมิต้านทานกลุ่มนี้จะสู้ไม่ไหว ร่างกายจึงมีภูมิต้านทานอีกประเภทหนึ่ง เรียกว่าภูมิต้านทานเฉพาะ ทำหน้าที่เหมือนหน่วยรบพิเศษ ที่สามารถสู้กับเชื้อไวรัสที่มีปริมาณมากหรือแข็งแกร่งได้

ปัจจัยต่างๆ ทั้งมลภาวะในอากาศ การรับประทานอาหารที่อาจจะมีสารตกค้าง สารพิษต่างๆ หรือแม้กระทั่งการนอนหลับไม่เพียงพอ การไม่ได้ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายอ่อนแอลง ส่งผลให้เรามีโอกาสเสี่ยงที่จะได้รับเชื้อไวรัสหรือเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายและเกิดโรคได้

กลุ่มแรกก็คือกลุ่มคนสูงอายุ อีกกลุ่มคือคนที่มีโรคเรื้อรัง ไม่ว่าจะเป็นโรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคมะเร็ง กลุ่มคนเหล่านี้ภูมิต้านทานของร่างกายอ่อนแอ ไม่สามารถทำลายเชื้อไวรัสที่เข้าสู่ร่างกายในปริมาณมากๆ ได้ เมื่อทำลายได้ไม่หมดไวรัสก็เจริญเติบโต และทำให้เกิดโรคได้ง่าย

ต้องเคร่งครัดดูแลสุขภาพ รับประทานผักผลไม้หรืออาหารเสริม เพราะมีการพิสูจน์แล้วว่าวิตามินดี วิตามินซี และกลุ่มแอนตี้ออกซิแดนท์ที่ได้จากผัก ผลไม้ และอาหารเสริม จะสามารถต่อต้านเชื้อไวรัสได้

เอเลน่า แคปซูล Elena สมุนไพรวัยทอง

Elena Capsule เอเลน่า แคปซูล  ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารชนิดแคปซูลสำหรับการบำรุงสุขภาพสตรี ไม่ใช่ฮอร์โมนทดแทน ประกอบด้วยส่วนผสมของสารสกัดสมุนไพร เช่น ถั่วขาว  เบต้ากูลแคน  ตังกุย  ผลไม้ที่มีสารต้านอนุมูลอิสระเช่น มะเขือเทศ อะเซโรล่าเชอรี่  และถั่วเหลือง ธัญ...

ดูรายละเอียด

ต่อต้านอนุมูลอิสระ

บทความน่ารู้

กระชายขาว โสมเมืองไทย

สำหรับสมุนไพรไทยที่ชื่อว่า “กระชายขาว” กระชายขาวมีสรรพคุณดีๆ หลายอย่าง กระชายขาวสมุนไพรยอดฮิตของคนไทย ดังไปถึงญี่ปุ่น ด้วยสรรพคุณที่มีประโยชน์ต่างๆมากมาย สำหรับคนญี่ปุ่นนั้น แต่เดิมทีเค้าไม่ค่อยคุ้นเคยกับกระชายขาวเพราะไม่ได้เป็นพืชประจำถิ่นของเขา หา...

อ่านต่อ

อาหารกินแล้วตัวหอม ลดปัญหากลิ่นตัวแรง

เรื่องปัญหากลิ่นกาย อาหารก็เป็นปัจจัยที่เราต้องใส่ใจ อาหารที่ทานแล้วตัวหอมมีดังนี้ ลูกพลับ กลิ่นหอม หวาน อร่อย ช่วยทำให้เรารู้สึกสดชื่น แถมยังอุดมไปด้วยคุณประโยชน์มากมาย เช่น ช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ ช่วยควบคุมน้ำหนัก และช่วยระงับกลิ่นอันไม่พึ่งป...

อ่านต่อ

พลูคาว คือ

พลูคาว หรือผักคาวตอง เป็นผักพื้นบ้านที่นิยมรับประทานใบสดแกล้มอาหาร โดยเฉพาะอาหารเหนือและอีสาน เช่น ลาบ ก้อย และแจ่ว และมีงานศึกษาวิจัยของหลายสถาบันที่รับรองสรรพคุณประโยชน์ของพลูคาว ว่ามีสรรพคุณรักษาหรือป้องกันโรคร้ายต่าง ๆ เช่น โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน ช...

อ่านต่อ

อาบน้ำแบบนี้ สุขภาพอาจแย่ลง

ระวัง! อาบน้ำแบบนี้ สุขภาพอาจแย่ลงอาบน้ำทันทีหลังดื่มแอลกอฮอล์ ร่างกายได้รับกลูโคสไม่พอ เสี่ยงหน้ามืด เวียนหัว เป็นลมหรือลื่นล้มในห้องน้ำอาบน้ำทันทีหลังออกกำลังกาย ต้องรอร่างกายหายเหนื่อยก่อน 10-15 นาที ถ้าอาบทันทีอาจเสี่ยงไม่สบาย หรือช็อกได้อาบน้ำท...

อ่านต่อ

พลูคาว รับประทานอย่างไรให้ปลอดภัย

แม้พลูคาวมีสารอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายอยู่มาก และไม่ก่อให้เกิดอันตรายสำหรับคนทั่วไปหากบริโภคในปริมาณที่เหมาะสมจากการรับประทานอาหาร แต่ขณะนี้ยังไม่มีข้อมูลหรือการทดลองใดยืนยันชัดเจนได้ว่าพลูคาวมีประสิทธิผลทางการรักษาหรือป้องกันโรคต่าง ๆ ในมนุษย์...

อ่านต่อ