ประโยชน์ กระชายขาว

ประโยชน์ กระชายขาว #1

กระชาย ภาษาอังกฤษใช้คำว่า Kaempfer แต่ชื่อวิทยาศาสตร์คือ Boesenbergia rotunda (L.) Mansf. เป็นพืชล้มลุกที่เรามักนิยมนำเหง้ามาใช้ประกอบอาหาร แต่กระชายมีสรรพคุณตั้งแต่รากถึงใบ

กระชายขาวสกัด เป็นยาต้านไวรัส โควิด-19 ได้ดี 100%

การใช้กระชายในวัตถุประสงค์ต้านโควิด-19 นั้นยังคงเป็นการศึกษาในห้องทดลอง โดยเลือกใช้สารสกัดจากกระชายขาว ซึ่งถูกนำมาสกัดใช้ในลักษณะของยา แต่หากนำมาใช้กินกันในอาหารทั่วไป จะมีสรรพคุณดังนี้

  • ใบกระชาย ใช้บำรุงธาตุ แก้โรคในปาก คอ ถอนพิษ แก้โลหิตเป็นพิษ
  • เหง้าและรากกระชาย แก้บิด ขับปัสสาวะ ใช้เป็นยารักษาภายนอกทารักษาขี้กลาก
  • เหง้าใต้ดินกระชาย แก้ปวดท้อง แก้มวนท้อง บำรุงกำลัง รักษาริดสีดวง

ประโยชน์ของกระชาย

กระชายที่ใช้เป็นวัตถุดิบประกอบอาหาร พ่อครัวแม่ครัวมักจะใช้กระชายดำ แต่กระชายส่วนใหญ่มีประโยชน์ได้ใกล้เคียงกัน ดังนี้

  • แก้ท้องร่วง - ใช้เหง้ากระชายดำ 1-2 หัว นำไปปิ้งไฟ แล้วนำมาตำหรือฝนผสมกับน้ำปูนใส คั้นมารับประทาน 1-2 ช้อนแกง
  • แก้ท้องอืด จุกเสียด ปวดมวนท้อง - ใช้ราก เหง้า ครึ่งกำมือ นำมาต้มเอาน้ำหรือใช้ปรุงอาหาร
  • แก้บิด - ใช้เหงาสด 2 เหง้าบดละเอียดผสมน้ำปูนใส คั้นแต่น้ำดื่ม
  • แก้ริดสีดวง - ใช้เหง้าสด 6-8 เหง้า ผสมเนื้อมะขามเปียก และเกลือแกง 3 ช้อนชา นำมาตำแล้วต้มกับน้ำ 6 แก้ว เคี่ยวจนเหลือ 2 แก้ว นำมารับประทานครั้งละครึ่งแก้วติดต่อกัน 1 เดือน จนกว่าริดสีดวงทวารจะหาย
  • บำรุงหัวใจ - ใช้เหง้าและรากกระชายปอกเปลือก ล้างน้ำให้สะอาด หั่นตากแห้ง บดเป็นผง นำผงแห้งมาชงน้ำร้อนครึ่งถ้วยชา ดื่มให้หมดในครั้งเดียว
  • เพิ่มสมรรถภาพทางเพศ - ส่วนสรรพคุณกระชายเพิ่มสมรรถภาพทางเพศ ตามที่แบรนด์อาหารเสริมต่างๆ แนะนำให้กินเวลาเย็น เพื่อช่วยลดอาการนอนไม่หลับตอนกลางคืนนั้น ยังต้องรอการศึกษาวิจัยต่อไป

นอกจากกระชายขาว และกระชายดำแล้ว ในตำราสมุนไพรไทยยังได้กล่าวถึงการใช้ กระชายเหลือง ในตำรับยาสำหรับผู้หญิง โดยใช้เพื่อบรรเทาอาการปวดประจำเดือน และแก้อาการตกขาวของผู้หญิงได้ ส่วนสรรพคุณของกระชายเหลืองอื่นๆ ก็มีฤทธิ์เช่นเดียวกับกระชายดำที่กล่าวมาข้างต้น

POW Zukar Q พาวซูการ์คิว

กลุ่มโรค NCDs เป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหาร การดื่มแอลกฮอล์ การสูบบุหรี่ การไม่ออกกำลังกาย การนอนดึก มีภาวะความเครียดสูง  ตัวอย่างของโรค NCDs ได้แก่ โรคไขมันในเลือดสูง โรคความดันสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ  โรคห...

ดูรายละเอียด

ต่อต้านอนุมูลอิสระ

บทความน่ารู้

ปรับสมดุลร่ากาย ด้วย โพรไบโอติก

ถ้าตรวจสุขภาพเมื่อไหร่ ค่าไขมันในเลือดออกมาทีไรเป็นอันต้องกุมขมับทุกที ค่าเลือดที่พุ่งแรงแซงค่าอื่นก็คงไม่พ้น  คอเลสเตอรอล ค่ายิ่งสูงร่างกายยิ่งพัง ระวังจะตามมาด้วยโรคอีกนับสิบ แต่ละวันคุณเติมไขมันตัวร้ายเข้าสู่ร่างกายไปเท่าไหร่ ทั้งการกินอาหาร...

อ่านต่อ

ประโยชน์ของส้ม

ส้ม ผลไม้หาซื้อง่ายมีทุกฤดูกาล ราคาไม่แพง แถมให้ประโยชน์ทั้งด้านความงาม และ สุขภาพเพียบ ประโยชน์ของผลไม้บ้านๆ ชื่อ ส้ม กินแล้วแค่อร่อยสดชื่นกระปรี้กระเปร่า ในส้มมีสารที่เป็นคุณต่อร่างกายมากมาย แม้กระทั่งเปลือกส้มก็มีประโยชน์ไม่น้อยช่วยลดคอเลสเตอรอลบท...

อ่านต่อ

คุมน้ำหนักอย่างไร ให้มีความสุข

ความสุขง่ายของคนทั่วไป คือ การได้ทานของอร่อย ไม่รู้สึกผิดต่อการคุมน้ำหนักนอกจากจะอร่อยแล้ว ยังดีต่อสุขภาพ ไม่ต้องมาเครียดกับการคุมน้ำหนัก  ไม่รู้สึกผิดเมื่อได้ทานการแฟที่มีความหวาน มัน หอม อร่อย ไม่ต้องมานับแคลลอรี่พาวเอสคอฟฟี่  การแฟเพื...

อ่านต่อ

ดอกคำฝอย ดีต่อผิว

น้ำมันดอกคำฝอยมีประโยชน์ต่อผิวของมาก เพราะน้ำมันชนิดนี้อุดมไปด้วยกรดไลโนเลอิก ซึ่งช่วยบรรเทาปัญหาผิวได้มากมาย น้ำมันดอกคำฝอยดีต่อผิวของเราอย่างไรบ้างสารสกัดจาก ช่วยป้องกันผิวแห้ง ลดรอยเหี่ยวย่น ให้ผิวแข็งแรงต้านทานโรค รักษาบาดแผล รักษาสิว ผิวขาวสว่า...

อ่านต่อ

พืชผักสมุนไพรป้องกันโรค COVID 19

พืชผักสมุนไพรที่มีศักยภาพใช้เป็นอาหารป้องกันโรค COVID-19 จากสถานการณ์การระบาดใหญ่ (pandemic) ของไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ใน หลายประเทศทั่วโลกในขณะนี้  การดูแลสุขภาพและการเสริมภูมิคุ้มกันให้กับร่างกายด้วยการรับประทาน อาหารที่มีป...

อ่านต่อ