การทานโปรตีนจากพืช มีผลเสียต่อร่างกายหรือไม่

Plant based portein หรือโปรตีนจากพืช เทรนด์สุขภาพลดการรับประทานเนื้อสัตว์ โดยเฉพาะเนื้อแดง หันมารับประทานผักผลไม้มากขึ้น

แต่การรับประทานโปรตีนพืชก็มีความเสี่ยงต่อสุขภาพได้เช่นกัน  เพราะ Plant based บางชนิดมีปริมาณโซเดียม หรือมีโพแทสเซียมสูง ซึ่งอาจส่งผลต่อสุขภาพโดยเฉพาะผุ้มีภาวะความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคไต ควรอ่านฉลากทุกครั้งต่อพิจารณารัปบระทาน

การรับประทานโปรตีนจากพืช ร่วมกับโปรตีนจากเนื้อสัตว์ไม่แปรรูปในปริมาณที่เหมาะสมเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย เพื่อให้สุขภาพแข็งแรงแบบยั่งยืน

อย่างที่ทราบกันว่าโปรตีนจากพืชส่วนใหญ่ ไม่ได้มีกรดอะมิโนที่จำเป็นต่อร่างกายครบถ้วนเท่าโปรตีนจากเนื้อสัตว์ (มีเพียงถั่วเหลืองเท่านั้นที่มีโปรตีนและกรดอะมิโนที่ร่างกายต้องการครบที่สุด)  กรณีที่เลือกรับประทานโปรตีนที่มาจากพืชอย่างเดียวติดต่อกันนาน อาจทำให้ร่างกายขาดสารอาหารจนเกิดความผิดปกติ ทั้งด้านร่างกาย ระบบประสาท และอารมณ์ เช่น ผมร่วง กล้ามเนื้ออ่อนแรงอ่อนเพลีย ภูมิคุ้มกันต่ำ ผิวไม่แข็งแรง ติดเชื้อง่าย ฮอร์โมนทำงานผิดปกติ โรคเกี่ยวกับสมอง โรคเลือด โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะขาดโคลีน (Choline Crisis) หรือภาวะขาดสารอาหารประเภทวิตามินบี เป็นต้น

ด้วยเหตุนี้ ควรเลือกรับประทานโปรตีนที่มาจากพืช ร่วมกับโปรตีนจากเนื้อสัตว์ที่ไม่แปรรูปในสัดส่วนที่เหมาะสม สิ่งสำคัญคือทานในปริมาณที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ไม่น้อยหรือมากจนเกินไป ออกกำลังกายควบคู่ เพื่อให้ร่างกายและสุขภาพแข็งแรงแบบยั่งยืน

ที่มาข้อมูล : POBPAD / Promotions.co.th / โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย /sanook.com

POW พาวโปรตีน พาวอัพชาเขียว Pow Upz

POW UPZ พาวอัพ โปรตีนพาว โปรตีนจากพืช Multiplant Protein สำหรับสายออกกำลังกาย สร้างกล้ามเนื้อ ลีน และผู้ที่ต้องการลดน้ำหนัก กระชับรูปร่าง เพิ่มการเผาผลาญ อิ่มนาน ลดการอักเสบในร่างกาย ปราศจากน้ำตาล อร่อยและหอมด้วยชาเขียวมัทฉะพรีเมี่ยมPow Upz ใน 1 ซอง ...

ดูรายละเอียด

ควบคุมน้ำหนัก

บทความน่ารู้

โปรตีนจากพืช ทางเลือกประโยชน์ต่อสุขภาพ

โปรตีนจากพืช (Plant based Protein) หนึ่งทางเลือกของสายสุขภาพในกลุ่มอาหารประเภทโปรตีน ซึ่งในพืชนอกจากจะอุดมไปด้วยใยอาหาร วิตามิน และแร่ธาตุต่าง ๆ ที่จำเป็นต่อร่างกายแล้ว โปรตีนจากพืชยังนับเป็นแหล่งอาหารชั้นดีที่เหมาะสำหรับคนหลายกลุ่ม ทั้งผู้ที่ไม่บริ...

อ่านต่อ

ไขมันตัวร้าย นำพามาสารพันโรค

ไขมันในเลือดสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคมากมาย โดยเฉพาะโรคเกี่ยวกับหลอดเลือดเช่น โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ  โรคหลอดเลือดสมอง นำพาไปสู่อาการอัมพฤกษ์ อัมพาตได้ชนิดของไขมันในเลือด ไขมันในเลือดแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ คอเลสเตอรอล และ ไตรกลีเซอร์ไรด์&n...

อ่านต่อ

อาหารมื้อเย็น

การรับประทานมื้อเย็นเป็นสิ่งที่คนลดน้ำหนักกังวลที่สุดเรื่องหนึ่ง ว่าหากรับประทานอาหารในช่วงเวลานี้จะทำให้น้ำหนักขึ้น ส่งผลให้มีปัญหาตามมา ไม่ว่าจะเป็นการหิวในตอนดึก แต่เราควรทำความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการับประทานอาหารเย็นให้ถูกต้อง เพื่อให้การลด...

อ่านต่อ

อาหารที่ไม่หวาน แต่ เสี่ยงเบาหวาน

หลายคนอาจจะทราบกันดีอยู่แล้วว่า ทานหวานมากๆ เสี่ยงต่อการเป็น "โรคเบาหวาน" แต่เชื่อหรือไม่ว่า ไม่เพียงแต่น้ำตาล และอาหารรสหวานจัดเท่านั้นที่จะทำให้เราเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน เพราะยังมีอาหารอีกหลายอย่างที่หากทานในปริมาณที่มากเกินไป ก็เสี่ยงต่อโรคเบาหวานได้...

อ่านต่อ

คุมอาหาร แต่ไม่ออกกำลังกาย

มันเป็นอย่างไร จะได้ผลมากน้อยเพียงใด หากเราเป็นคนไม่ชอบออกกำลังกาย ข้อดีของการออกกำลังกาย ส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อม ต่อผู้ออกกำลังกาย ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ระบบภูมิคุ้มกัน ความแข็งรองของข้อต่อ กล้ามเนื้อ ระบบประสาทต่างๆ เรียกได้ว่า ออกกำลังกายคร...

อ่านต่อ